Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปเเบบการศึกษาทางวิทยาการระบาด - Coggle Diagram
รูปเเบบการศึกษาทางวิทยาการระบาด
แนวทางการเลือกรูปเเบบการศึกษา
ทางวิทยาการระบาด
งบประมาณเเละทรัพยากร
หากงบประมาณมีจำกัดเเต่ต้องทราบปัจจัยเสี่ยงคร่าวๆ
ควรเลือก Cross sectional study
อุบัติการณ์ของโรค
หากโรคที่ต้องการศึกษามีอุบัติการณ์ต่ำ เเต่ต้องการ
ทราบปัจจัยเสี่ยงควรใช้ Case-control study
ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการศึกษา
ถ้าต้องการศึกษาปัจจัยเสี่ยงโดยมีเวลาไม่มากควรใช้
Cas-control study หากมีเวลามากใช้ Prospective
ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
โรคที่มีอันตรายก่อให้เกิดผลกระทบสูงผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือ
เเต่ต้องการทราบปัจจัยเสี่ยงคร่าวๆควรใช้ Case-control study
ขึ้นกับวัตถุประสงค์เเละข้อมูลที่มีอยู่
หากต้องการพิสูจน์สมมติฐานก็ใช้
Analytical study มี 2เเบบ
Case-control study
Cohort study
หากต้องการค้นหาปัญหาของชุมชน ประชากรกลุ่มเสี่ยง
ต้องการทราบเวลาเเละสถานที่รวมถึงรวบรวมข้อมูลค้นพบมาสร้างสมมติฐานมี3เเบบ
Ecological study
Cross-sectional study
Case report&case series
หากต้องการผลที่เกิดจากการใส่สิ่งกระตุ้น
เช่น ยา วัคซีน มี 3เเบบ
Field trial
Community trial
Clinical trial
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
วิธีการศึกษาทางระบาดวิทยา
ความหมาย
ศึกษาลักษณะโรคภัยไข้เจ็บ
พิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค
มี 2 วิธี
เชิงทดลอง
เชิงสังเกตการณ์
ประโยชน์
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง Host ,Agent, Environment
พรรณนาถึงอุบัติการณ์หรืออัตราความชุก
เเละการเเพร่กระจายของโรคตามบุคคล สถานที่ เวลา
ค้นหาความรู้ที่เกี่ยวกับสาเหตุของธรรมชาติการเกิดโรค
ค้นหาเเละศึกษาปัญหาอย่างทันทีทันใด
เป็นเนวทางในการกำหนดมาตรการในการควบคุมเเละป้องกันโรค
ขั้นตอน
วิเคราะห์สถานการณ์
กำหนดปัญหาสุขภาพ
การประเมินผล
กำหนดสมมติฐานเเละทดสอบ
ดำเนินการ
กำหนดวิธีการควบคุมปัญหา
วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
(Descriptive Study)
ประโยขน์
ทราบถึงสุขภาวะอนามัย
ได้ข้อมูลประชากรกลุ่มเสี่ยง
ได้ข้อมูลพื้นฐานเพื่อสร้างสมมติฐาน
ได้ข้อมูลเป็นเเนวทางในการวางเเผนเเละ
ประเมินผลโครงการ
ชนิด
Ecological study
มีประโยชน์ต่อการตั้งสมมติฐาน
ศึกษาเป็นกลุ่มประชากรไม่ใช่รายบุคคล
ทำได้โดยเปรียบเทียบประชากรหลายๆพื้นที่เวลาเดียวกัน
Cross-sectional study
วัดอัตราความชุกของโรค
การวัด Exposure เเละการวัดEffectดำเนินในเวลาเดียวกัน
ยากที่จะประเมินความสัมพันธ์เชิงเตุผล
ง่ายเเละค่าใช้จ่ายไม่เเพง
อัตราป่วยเเละปัจจัยเสี่ยงทำได้โดยหาความสัมพันธ์
กับเพศ อายุเเละเชื้อชาติ
ข้อมูลจาก Cross-sectional studiesมีประโยชน์ในการ
ประเมินความต้องการดูเเลสุขภาพประชาชน
Case report&case series
การศึกษาที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยรายบุคคล
กลุ่มที่เป็นโรคเดียวกัน
รายงานผู้ป่วยเฉพาะราย
(Case repor)
ผู้ป่วยหนึ่งรายหรือมากกว่า
ครอบคลุมข้อมูลทุกด้าน
รายงานผู้ป่วยต่อเนื่อง
(case series)
ผู้ป่วยหลายรายที่เป็นโรคเดียวกันช่วงเวลาหนึ่ง
มักเป็นโรคที่เกิดใหม่
ลักษณะ
อธิบายสถานะทางสุขภาพในชุมชน
อาศัยข้อมูลจากงานประจำหรือสำรวจ
เป็นขั้นตอนเเรก
บางประเทศจะดำเนินการโดยศูนย์สถิติ
เพื่ออธิบายตัวเเปรที่มีอยู่โดยไม่คำนึงถึงการเชื่อมโยงระหว่างปัจจัย
โดยมากจะอิงดัชนีอนามัยโดยอธิบายรูปแบบการเกิดโรค
ระบาดวิทยาเชิงทดลอง
(Experimental Epidemiology)
มีความคล้ายกับการศึกษาไปข้างหน้า
จะทำการสังเกตการณ์ปัจจัยต่างๆที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
เริ่มจากคนที่สัมผัสต่างกันเเละดูผลว่าต่างกันหรือไม่
ชนิด
การศึกษาในภาคสนาม
ข้อมูลรวบรวมจากการทดสอบภาคสนาม
อุบัติการณ์ของโรคจะต่ำทำให้การศึกษาซับซ้อน
ค่าใช้จ่ายสูง
ตัวอย่างจะเป็นประชากรที่มีคุณภาพ เเต่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
การศึกษาทดลองในชุมชน
กลุ่มตัวอย่างคือชุมชนไม่ใช่บุคคล
เหมาะกับโรคที่เกิดจากเงื่อนไขทางสังคม
การศึกษาเชิงคลินิก
ตัวอย่างถูกสุ่มเพื่ออยู่ในกลุ่ม
รักษา
ควบคุม
ศึกษาผลเปรียบเทียบของการรักษา
กลุ่มตัวอย่างเป็นคนไข้
ประเมินผลโดยเปรียบเทียบผลทั้งสองกลุ่ม
การศึกษากึ่งทดลอง
กลุ่มเสี่ยง
ไม่มีการสุ่ม
รักษา 3-4เดือน
สอนสุขศึกษาเเละปรับพฤติกรรม
ดูดัชนีวัดหลายๆตัว
ควบคุม 3-4เดือน
วัดก่อน-หลังเเล้วนำมาเปรียบเทียบ
วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์
(Analytical Epidemiology)
ลักษณะ
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคเเละปัจจัยต่างๆ
ศึกษาที่พิสูจน์การเชื่อมโยงเชิงเหตุผล
มีกลุ่มศึกษาเเละกลุ่มเปรียบเทียบ
ตอบ 2คำถามหลัก คือHow ,Why
ขั้นตอนหลังจากศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาเเล้ว
ประโยชน์
เข้าใจปัญหาสุขภาพชัดเจนขึ้น
ได้ข้อมูลสำคัญเป็นเเนวทางวางแผน
ใช้พิสูจน์สมมติฐานเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพ
ชนิด
Case-control study หรือ
Retrospective study
ประชากร
กลุ่มผู้ป่วย
Exposed
Non-exposed
กลุ่มเปรียบเทียบ
Exposed
Non-exposed
Cohort study หรือ
Prospective study
ระบุตัวเเปรที่สนใจเเละตรวจวัด
ให้ข้อมูลที่ดีในการพิสูจน์สาเหตุการเกิดโรค
เริ่มจากประชากรที่ปราศจากโรค
ใช้เวลานานในการติดตามกลุ่มตัวอย่าง
บางครั้งเรียกว่า Follow up หรือIncidence study
หากโรคที่ต้องการศึกษาพบน้อยอาจทำให้
พบปัญหาของขนาดตัวอย่างที่ไม่มากพอ
การเเบ่งเเยกชนิดของ
การศึกษาทางระบาดวิทยา
ตามลักษณะประชากร
(Study population)
ประชากรทั่วไป
ประชากรพิเศษ
กลุ่มเชื้อชาติ
กลุ่มอาชีพ
ตามเทคนิคที่ใช้ศึกษา
ตรวจสอบครั้งเดียวหรือหลายครั้ง
สัมภาษณ์
ตามลำดับเวลา (Time sequence)
Cross-sectional study
Retrospective study
Prospective study
Retro-prospective study
ตามลักษณะการศึกษา
(Nature of Study)
เชิงสังเกต
ไม่ได้ใส่สิ่งกระตุ้นใดๆ
เชิงทดลอง
ใส่สิ่งกระตุ้น
ยา
วัคซีน
โครงการ