Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการโรคที่พบบ่อย 2 - Coggle Diagram
กลุ่มอาการโรคที่พบบ่อย 2
โรคที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์นอกมดลูก
สาเหตุ
ความผิดปกติของท่อนำไข่ตีบตัน
ตัวอ่อนมีความผิดปกติ
อุ้งเชิงกรานพังผืดเยอะ
เคยทำเด็กหลอดเเก้ว
วิธีรักษา
ยุติการตั้งครรภ์
ไม่ผ่าตัด ให้ยากับคนไข้ไปทำลายตัวอ่อน
ผ่าตัด เมื่อวินิจฉัยแล้ว
แท้งบุตร
สาเหตุ
ความผิดปกติของโครโมโซม
ปัญหาเกี่ยวกับฮอร์โมน
ปัญหาเกี่ยวกับการติดเชื้อโรคของแม่
ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพแม่
ชนิดการแท้ง
Threatened abortion
nevitable or Incomplete abortion
Complete abortion
Missed abortion
การป้องกัน
ไม่มีทางป้องกันได้ควรดูแลตัวเองให้แข็งแรง
โรคทางสูตินรีเวช
ติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน
อาการ
ปวดท้องน้อยหรืออุ้งเชิงกราน
ตกขาวผิดปกติ
อาการของท่อปัสสาวะอักเสบ
เลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก
มีไข้สูง
สาเหตุ
เชื้อติดต่อทางเพศสัมพันธ์
เชื้อแบคทีเรียในช่องคลอด
การรักษา
แบบเฉียบพลันให้ยาปฎิชีวนะ
แบบเรื้อรัง ให้ยาแก้ปวด และผ่าตัด
ถุงน้ำรังไข่หมาย
ประเภท
ถุงน้ำรังไข่เจริญเต็มที่แต่ไข่ยังไม่ตก
ถุงน้ำรังไข่ที่เกิดขึ้นเมื่อตกไปแล้ว
Dermoid cyst
ถุงน้ำช็อคโกแลคในโรคเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่
Cystadenoma Cyst
Polycystic ovarian cyst
การปวดประจำเดือน
สาเหตุ
ความไม่สมดุลของฮอร์โมนเพศ
โปรเจสเตอโรน
ขาดกรดไขมันจำเป็น
การรักษา
ยา NSIAD
การดูแลสุขภาพ
การออกกำลังกาย
รับประทานอาหารให้เพียงพอ
พักผ่อนให้เพียงพอ
อาการเจ็บหน้าอก
สาเหตุ
หัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
อาการ
ปวดแบบบีบรัด หรือมีอะไรมาทับ
ตรงกลางกระดูกหน้าอก ร้าวไปที่แขนซ้าย ไหล่
เหงื่อออก ตัวเย็น คลื่นไส อาเจียน หายใจไม่สะดวก
ระยะเวลา
มีอาการ 5-10 นาที
ไม่เกิน 30 นาที
ปัจจัยที่ทำให้มีอาการมากขึ้น
ออกกำลังกาย
อารมณ์ ตื่นเต้น ตกจ โกรธ
อาการทุเลาหลังพัก หรืออมยาใต้ลิ้น
ไม่ใช่หัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
ระบบทางเดินหายใจ
อาการสัมพันธ์กับการหายใจ
มีภาวะผิดปกติร่วมกับการหายใจ
ตรวจร่างกายผิดปกติ
ตรวจพิเศษ
ระบบทางเดินอาหาร
สัมพันธ์กับการรับประทานอาหาร
อาการแสบออกร้อน
ทานยาลดกรดแล้วดีขึ้น
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
มีกดจุดเจ็บชัดเจน
อาการมากขึ้นเมื่อออกกำลังกาย
ภาวะทางจิตใจ
เจ็บแบบเจ็บแปลบหรือเข็มแทง
บริเวณอกซีกซ้ายหรือตรงกลางหัวจ
ชี้จุดเจ็บได้
มีอาการทางจิตอื่นๆ เช่น เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ
อาการรุนแรงไม่สัมพันธ์กับความผิดปกติที่ตรวจ
การวินิจฉัยแยกโรค
ประวัติ
ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การวินิจฉัย
อาการเริ่มต้น
ตำแหน่งที่เจ็บ
อาการปวดร้าวไปที่อื่น
ลักษณะการเจ็บ
ความรุนแรง
ระยะที่มีอาการ
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก
ตรวจพิเศษทางหัวใจ
การตรวจร่างกาย
ดู คลำ เคาะ ฟัง
อาการซีด
สาเหตุ
อาการเลือดไปเลี้ยงน้อยลง
อาจเกิดขึ้นเฉพาะที่
บริเวณปลายๆของอวัยวะ
ซีดจากโรคเลือดจาง
การเสียเลือด
การเสียเลือดอย่างรวดเร็ว เช่นแท้ง ถูกยิง
การเสียเลือดอย่างเรื้อรัง เช่น ประจำเดือน โรคพยาธิลำไส้
การทำลายเม็ดเลือดแดง
โรคไข้มาลาเลีย
โรคธาลัสซีเมีย
อาการ
ซีด ตาขาวเหลือง ตัวเหลือง ตับโต ม้ามโต ดำคล้ำ
โตช้า แคระแกร็น
มีภาวะติดเชื้อบ่อยๆ
ผู้มีโอกาสเป็นพาหะ
ญาติพี่น้องที่เป็น
ผู้ที่มีลูกเป็นโรคนี้
คนในครอบครัวเป็น
การรักษา
ทานวิตามันโฟลิควันละเม็ด
ให้เลือดเมื่อซีดมาก
ตัดม้ามเมื่อรับเลือดบ่อยๆ
ไม่ทานยาบำรุงที่มีธาตุเหล็ก
ขาดธาตุเหล็กและสารจำเป็นสำหรับการสร้างเม็ดเลือดแดง
การวินิจฉัย
ประวัติการเจ็บป่วยและการตรวจพบภาวะซีด
การตรวจร่างกาย
ตรวจเลือด
การรักษา
หาสาเหตุแล้วรักษา
รักษาตามอาการ
อ่อนเพลีย
สาเหตุ
ภฺมิแพ้ หรือโรคหอบหืด
ซึมเศร้าหรือเสียจ
อาการปวด Fibromyalgia
Anemia
เบาหวาน หัวใจวาย มะเร็ง
การวินิจฉัย
ประวัติ
การตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
รักษา
ตามสาเหตุของโรค
รักษาตามอาการ
ภาวะเพลียเรื้อรัง
อาการ
เกิดหลังกสรป่วยเล็กๆน้อยๆ
เกิดแบบเป็นๆหายๆ
การรักษา
ไม่มียาเฉพาะเจาะจง
รักษาตามอาการ
รีบกำจัดสิ่งที่กระตุ้นให้เป็นหนัก
ปวดกล้ามเนื้อ
สาเหตุ
ต้องเกร็งค้างอยู่นานๆ
มีภาวะหดสั้นของกล้ามเนื้อ
ออกแรงอย่างหนัก
ปัจจัยการกระตุ้น
บาดเจ็บรุนแรงแบบเฉียบพลัน
บาดเจ็บไม่รุนแรงแต่เรื้อรัง
ความเครียด
โรคของต่อมไร้ท่อ
แร่ธาตุและสารอาหารไม่เพียงพอ
การวินัจฉัย
ประวัติ อาการปวด
ตรวจร่างกาย
กดเจ็บเฉพาะที่
การรักษา
กำจัดปมกล้ามเนื้อ
หาสาเหตุและแก้ปัจจัยกระตุ้น
ป้องกันอาการปวด
ไม่อยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสม
ปรับกิจกรรมที่ต้องค้างกล้ามเนื้อตลอดเวลา
Myofascial pain syndrome
อาการเด่น
ปวดร้าวเฉพาะจุด
การวินิจฉัย
ประวัติ อาการปวด
การรักษา
รักษาตามความเหมาะสม
รักษาระยะยาว
นวด ฝังเข็ม กายภาพ ฉีดยา
โรคปวดกล้ามเนื้อหลัง
สาเหตุ
ทำงานก้มๆเงยๆ ยกของหนัก
ความผิดปกติของกระดูกแต่กำเนิด
อักเสบ ติดเชื้อ
กระดูกเสื่อม
ขาดกการออกกำลังกาย
สาเหตุโรคปวดหลัง
ความผิดปกติแต่กำเนิด
เนื้องอก
กระดูกพรุน
โรคในช่องท้อง
อาการ
ปวดตรงกลางหลังส่วนกลาง
ไม่พบสิ่งผิดปกติ
การรักษา
รักษาแบบไม่ผ่าตัด
รักษาโดยการผ่าตัด
โรคปวดข้อ
โรคข้อเสื่อม
สาเหตุ
อายุ อ้วน
อุบัติเหตุจากกีฬา การทำงาน
กรรมพันธ์ุ
อาการ
ปวดข้อตลอดัน
ข้อติดขณะพัก
โรคเนื้อเยื่อรอบข้อ
เบอร์ซ่า เส้นเอ็นเกิดการอักเสบทำให้ปวด
ผลึกหินปูนมาพอก
เคลื่อนไหวข้อไม่สะดวก
ปวดบริเวณ หัวไหล่ ตะโพก ส้นเท้า
โรคเส้นเอ็นเสื่อม
ใช้งานมานานๆก็เสื่อมสภาพมีหินปูนมาเกาะที่เอ็น
คนสูงอายุใช้ข้อมือบ่อยก็เป็น
การรักษา
ฉีดยา เพราะกินยาไม่ค่อยได้ผล
โรคเก๊าต์
การขับถ่ายสารพิวรีบผิดปกติ
โรคไหล่ติด
ปลอกหุ้มข้อไหล่แข็งตัว มีการบีบรัดหด
โรคปลายประสาทถูกพังผืดกดทับ
โรคตะคริว
ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
เกิดจากความผิดปกติของภูมิคุ้มกัน
หลั่งสารออกมาทำลายเยื่อข้อบุ
มีการสร้างน้ำไขข้อเพิ่มทำให้บวม
โรคลูปัสหรือ เอส แอล อี
โรคปวดกล้ามเนื้อจากการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ
ความเครียด ความเศร้า
มีการเกร็งกล้ามเนื้อคอ
การรักษา
ให้ยา
ออกกำลังกาย
กายภาพบำบัด
พักผ่อน
ภาวะบวม
สาเหตุ
Hydrostatic Pressure
Oncotic Pressure
ภาวะการคั่งของน้ำและเกลือแร่
การอุดตันของต่อมน้ำเหลือง
โรคไต
โปรตีนในเลือดต่ำ
มีการรั่วของโปรตีน
โรคหัวใจ
หัวใจห้องล่างขวาทำงานลดลง
บวมที่ขาสองข้าง
หายใจเหนื่อยหอบ
โรคตับ
อ่อนเพลีย มีไข้ เบท่ออาหาร คลื่นไส้ ท้องเสีย ดีซ่าน
บวมที่เท้าและท้องโตกว่าปกติ เรียก ท้องมาน
ไม่สามารถสรเางโปรตีน อัลบูมินได้
โรคแพ้ภูมิตัวเอง
โรคติดเชื้อ
เชื้อแบคทีเรีย
โรคข้ออักเสบ
โรคเท้าช้าง
ยุงมีเชื้อพยาธิเท้าช้างกัดซ้ำๆ
ขาโต
โรคหลอดเลือดดำที่ขาอุดตัน
เกิดกับอาชีพที่ต้องพึ่งขาทั้งสองข้าง เช่น ครู พยาบาล แม่ครัว
ยืนเป็นเวลานานๆ
การรักษา
ออกกำลังกาย
ลดอาหารเค็ม
สวมรองเท้าไม่เกิน 5 ซม.