Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช,…
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ
ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
กิจกรรมบำบัด
เป็นวิธีการรักษาอย่างหนึ่งโดยใช้สิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด (Milieu Therapy) จัดให้ผู้ได้ทำกิจกรรมเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมให้เข้าสู่สภาพปกติให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
ชนิดของกิจกรรมบำบัด
กลุ่มอาชีวบำบัด
นันทนาการบำบัด
กลุ่มการศึกษาบำบัด
กลุ่มฝึกหัดการเข้าสังคม
ขั้นตอนในการทำกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม ได้แก่ การเตรียมความรู้ การเลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้ป่วย การเตรียมอุปกรณ์ การจัดสถานที่ การวางแผนการดำเนินการกลุ่ม เป็นต้น
ขั้นที่ 2 ขั้นดำเนินการ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอนคือ ขั้นเปิดกลุ่ม ขั้นดำเนินกิจกรรมและขั้นปิดกลุม
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปประเมินผล เป็นการประเมินปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการทำกลุ่มกิจกรรมบำบัด ได้แก่ การประเมินกิจกรรม บรรยากาศกลุ่ม ผู้นำกลุ่ม พฤติกรรมผู้ป่วย
บทบาทพยาบาล
1) มีความรู้และทักษะในการจัดกิจกรรมนั้นๆ
2) เป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมบำบัดตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งสิ้นสุดกิจกรรม
3) ในระหว่างที่กำลังทำกลุ่มผู้นำกลุ่ม ผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม และผู้สังเกตการณ์จะต้องคอยดูแลกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างทั่วถึง
4) ให้กำลังใจและส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจในตนเอง
5) สร้างบรรยากาศในกลุ่มให้มีลักษณะของความเป็นมิตร
6) มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย รับฟังความคิดเห็นของสมาชิกทุกคน
การบำบัดรักษาทางจิตใจหรือจิตบำบัด
1.จิตบำบัดรายบุคคล
1.1 จิตวิเคราะห์
1.2 จิตบำบัดแบบหยั่งเห็น
1.3 จิตบำบัดแบบประคับประคอง
1.4 การสะกดจิต
บทบาทพยาบาล
1) พยาบาลทั่วไป ได้แก่ พยาบาลที่จบหลักสูตรการพยาบาลที่มีวุฒิปริญญาตรี อาจได้รับการศึกษาพิเศษในหลักสูตรการพยาบาลจิตเวชระยะสั้น จะทำหน้าที่บริหารงานในหน่วยรักษาให้การพยาบาลตามแผนการรักษา
2) พยาบาลผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลจิตเวช หรือ Clinical nurse specialist เป็นพยาบาลที่ได้รับการศึกษาขั้นปริญญาโททางการพยาบาลจิตเวช สามารถทำจิตบำบัดได้ทั้งกับผู้ป่วยรายบุคคลและเป็นกลุ่ม และเป็นที่ปรึกษาสำหรับพยาบาลทั่วไป และช่วยแพทย์ในการบำบัด
2 จิตบำบัดกลุ่ม
ขนาดของกลุ่มประกอบด้วยสมาชิก 4-8 คน มักไม่เกิน 12 คน
บทบาทของพยาบาล
1) พยาบาลทั่วไป ได้แก่ พยาบาลที่จบหลักสูตรการพยาบาลที่มีวุฒิปริญญาตรี อาจได้รับการศึกษาพิเศษในหลักสูตรการพยาบาลจิตเวชระยะสั้น จะทำหน้าที่บริหารงานในหน่วยรักษาให้การพยาบาลตามแผนการรักษา
2) พยาบาลผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลจิตเวช หรือ Clinical nurse specialist เป็นพยาบาลที่ได้รับการศึกษาขั้นปริญญาโททางการพยาบาลจิตเวช สามารถทำจิตบำบัดได้ทั้งกับผู้ป่วยรายบุคคลและเป็นกลุ่ม และเป็นที่ปรึกษาสำหรับพยาบาลทั่วไป และช่วยแพทย์ในการบำบัด
3 ครอบครัวบำบัด
การมุ่งไปที่ครอบครัวแทนที่จะเป็นตัวผู้ป่วย
บทบาทของพยาบาล
1) ติดต่อญาติ นัดวัน เวลา สถานที่
2) จัดสถานที่ในการทำกลุ่ม ที่เงียบสงบ เป็นส่วนตัว
3) เยี่ยมครอบครัวเพื่อสังเกตดูสภาพแวดล้อม บรรยากาศของครอบครัว
4) อาจเป็น Leader หรือ Co-Leader
5) บันทึกพฤติกรรมของสมาชิกที่แสดงออกในขณะอยู่ในกลุ่ม
การบำบัดเชิงการรู้คิด
1 แนวคิดพื้นฐานของการบำบัดความคิดและพฤติกรรม
เป้าหมายเพื่อค้นพบ ที่มาของปัญหาทางอารมณ์เพื่อที่จะช่วยให้ผู้ที่มีมีปัญหา ได้ปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติดังกล่าว การค้นหาและ ปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติสามารถทำได้ 3 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาความคิด อัตโนมัติทางลบ
ขั้นตอนที่ 2 การ ประเมินและตรวจสอบความคิดดังกล่าวว่าเป็นความจริง หรือไม่ น้อยมากเพียงใด
ขั้นตอนที่ 3 การตอบสนองต่อความคิดอัตโนมัติ
2 ขั้นตอนการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม
ครั้งที่ 1 ในขั้นตอนแรกที่ผู้ให้การปรึกษาได้พบกับผู้รับการปรึกษา
ครั้งที่ 2 มีงานในการให้การปรึกษาโดยการปรับ ความคิดและพฤติกรรม
ครั้งที่ 3 และครั้งต่อๆ ไป มีงานในการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม ทบทวนการบ้านที่ได้รับมอบหมาย สรุปและให้ข้อมูลย้อนกลับระหว่างครั้งต่อๆไป
นางสาวพัณณิตา แก้วพัฒน์ เลขที่ 42