Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการวิเคราะห์ต้นทุนและการบริหารต้นทุน - Coggle Diagram
แนวคิดการวิเคราะห์ต้นทุนและการบริหารต้นทุน
แนวคิดการวิเคราะห์ต้นทุน
ในทางเศรษฐศาสตร์การบริการสุขภาพถือว่าเป็นสินค้าชนิดหนึ่งที่เรียกว่า สินค้าสาธารณะ ซึ่งหมายถึง สินค้าสุขภาพที่ผลิตขึ้นโดยไม่หวังผลกาไร แต่มุ่งผลิตขึ้นเพื่อการบริการและเป็นสวัสดิการแก่ สาธารณชน โดยสาธารณชนสามารถมาใช้สินค้าหรือบริการสุขภาพร่วมกันได้ โดยให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ประเภทของต้นทุน
ประเภทของต้นทุน สามารถแบ่งได้หลายอย่างดังนี้
1 แบ่งตามปัจจัยนาเข้า
1) ต้นทุนค่าลงทุน (capital cost) หมายถึง ต้นทุนส่วนที่จ่ายไปแล้ว มีอายุการใช้งานในระยะยาวโดยปกติกาหนดว่าอายุใช้งานยาวมากกว่า 1 รอบปีบัญชี
2) ต้นทุนการดาเนินงาน (recurrent cost) หมายถึงต้นทุนที่จ่ายแล้วหมดอายุการใช้งานไปใน ระยะเวลาอันสั้น
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (opportunity cost) คือ ความสูญเสียจากการนาทรัพยากรไปใช้งานอย่างหนึ่ง ทาให้หมดโอกาสในการใช้งานอีกอย่างหนึ่ง
ราคาของสินค้าอาจไม่ใช่ราคาที่แท้จริง
ต้นทุนทางตรงกับต้นทุนทางอ้อม
ต้นทุนทางการแพทย์ กับต้นทุนไม่ใช่ทางการแพทย์ ได้แก่ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลโดยตรง เช่น ค่าห้องค่าอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาล ค่ายา ค่าผ่าตัด
การจัดกลุ่มต้นทุนสาหรับการจัดการสุขภาพ
Drummond ได้จัดกลุ่มประเภทต้นทุน ได้ 7 ประเภท
4.จัดกลุ่มต้นทุนโดยใช้
เกณฑ์กิจกรรม
-ต้นทุนทางตรง (direct cost)
-ต้นทุนทางอ้อม (indirect cost)
5.การจัดกลุ่มต้นทุน
โดยใช้เกณฑ์การจ่าย
-ต้นทุนที่มองเห็น (explicit cost
-ต้นทุนที่มองไม่เห็น (implicit cost)
3.การจำแนกต้นทุนตาม
ลักษณะพฤติกรรมของต้นทุน
-ต้นทุนคงที่ (fixed costs)
-ต้นทุนแปรผัน (variable costs)
จัดกลุ่มต้นทุนโดยใช้
เกณฑ์การแพทย์
-ต้นทุนเกี่ยวกับการแพทย์
-ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการแพทย
2.การจัดกลุ่มต้นทุนโดยใช้
เกณฑ์ผู้รับภาระต้นทุน
-ต้นทุนภายใน (Internal cost)
-ต้นทุนภายนอก (External cost)
การจัดประเภทต้นทุนตาม
องค์ประกอบของต้นทุน
-ต้นทุนค่าแรง -ต้นทุนค่าวัสดุ -ต้นทุนค่าลงทุน
1.การจัดกลุ่มต้นทุนดำเนินการ
และการลงทุน
-ต้นทุนค่าลงทุน (capital cost)
-ต้นทุนดำเนินการ
การคิดค่าเสื่อมราคา การคดิ ด้วยวิธีเส้นตรง (straight line method)
การคิดค่าเสื่อมราคา วิธีเส้นตรง (straight line method) เป็นวิธีคิดค่าเสื่อมราคาโดยเฉลี่ยมูลค่าเสื่อม ราคาของสินทรัพย์ให้เป็นค่าเสื่อมราคาโดยเฉลี่ยมูลค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ให้เป็นค่าเสื่อมราคาในแต่ละปี เท่าๆกัน ตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ถาวรนั้นๆ
ต้นทุนเฉลี่ย
เป็นค่าที่แสดงถึง ภาพรวม ของต้นทุนในการผลิตสินค้าหรือบริการอย่างหนึ่งเฉลี่ยเป็นเท่าไร คานวณได้ จากค่าต้นทุนทั้งหมด หารด้วย ผลผลิตที่ทำได้
การคานวณต้นทุนมีวิธีการทาอย่างไร
ขั้นที่2จัดกลุ่มต้นทุนที่เกิดขนึ้ในแต่ละฝ่ายหรือแผนกหอผู้ป่วยโดยแบ่งเป็น3กลุ่มใหญ่คือ 1) ต้นทุนค่าแรง 2) ต้นทุนค่าดาเนินการ 3) ต้นทุนค่าลงทุน
ขั้นที่ 3 กาหนดร้อยละหรือสัดส่วน ที่แผนก/ฝ่ายหรือหอผู้ป่วยต่างๆนั้น ใช้ต้นทุนหรือรับบริการ จากแหล่งให้การสนับสนุน เพื่อรับการกระจายทุนหรือกระจายต้นทุนให้ฝ่ายอื่น
ขั้นที่ 4 การคานวณค่าน้า ค่าไฟ อาจทาได้โดยติดมิเตอร์ แยกเป็นค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่าย หากทำไม่ได้ให้การใช้ข้อมูลที่หน่วยงานจ่ายจริงในปีที่ผ่านมาใช้ในการคานวณ
ขั้นที่ 5 ค่าเสื่อมราคา มีการนาการคานวณค่าเสื่อมราคมเข้ามาใช้ในการเพื่อให้คานวณค่าเสื่อมราคามีความถูกต้องยิ่งขึ้น
ขั้นที่ 1 วิเคราะห์ระบบงาน เพื่อให้ทราบว่า รายรับ รายจ่าย ของหน่วยงานเกิดขึ้น ณ แผนกหรือ ฝ่ายใด แล้วนาไปสู่การจัดกลุ่มงาน คือ กลุ่มที่มีรายได้ กลุ่มที่ไม่มีรายได้และกลุ่มบริการผู้ป่วย เป็นต้น
ขั้นที่ 6 กาหนดแบบฟอร์มที่จะใช้ในการรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนในการจัดระบบงานให้เป็น ปกติเพื่อการจัดระบบการคานวณต้นทุนให้เป็นระบบ โดยการสร้างแบบฟอร์มมาตรฐานไว้
ต้นทุนต่อหน่วยสุดท้าย
คือต้นทุนที่แสดงถึงการเพิ่มขนาดของการผลิตว่าเมื่อเพิ่มผลผลิตขึ้นอีก 1 หน่วย จะสิ้นเปลืองต้นทุนมาก น้อยจากเดิมเพียงใด สูตรสาหรับคานวณต้นทุนต่อหน่วยสุดท้าย
การบริหารต้นทุน
หมายถึง แนวความคิดในการนำข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนไปใช้ใน การบริหารจัดการองค์กร เพื่อช่วยให้การดำเนินงานขององค์กรประสบความสาเร็จทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
ประโยชน์การวิเคราะห์ต้นทุนสาหรับการจัดบริการสุขภาพ
2) ผู้บริหารระดับสูงสามารถกำหนดนโยบายต่ออัตราค่าบริการของหน่วยงานที่เหมาะสม และเป็นธรรมต่อ ผู้บริโภค
3) ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับผู้บริหารมีความเข้าใจเรื่องต้นทุนการจัดบริการไปใช้ในการดำเนินงานและ กำหนด นโยบาย
1) ผลการวิเคราะห์ต้นทุนสามารถใช้เป็นพื้นฐานสาหรับผู้บริหารหน่วยงานสุขภาพในการวางแผนควบคุม