Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
The Marshmallow Test and Executive Functions, 150710184407-marshmallow…
The Marshmallow Test and Executive Functions
The Marshmallow Test
เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 1960 โดยผู้ที่เป็นกลุ่มทดลองก็คือเด็กก่อนอนุบาลที่โรงเรียนเด็กเล็กของมหาวิทยาลัย โดยวิธีการทดสอบมีดังนี้
(ตัวอย่างเช่น แมร์ชแมลโลว ซึ่งเป็นขนมหวานที่เด็กมักจะชอบกินมาก) ซึ่งเขาจะได้รับทันที หรือรางวัลที่ใหญ่ขึ้น (แมร์ชแมลโลว 2 ชิ้น) แต่เขาจะต้องรอในระยะเวลาไม่เกิน 20 นาที เด็กๆ จะมีโอกาสเลือกว่าเขาอยากได้อะไรที่สุด เช่น คุกกี้ เพรสเซล หรือลูกอม เป็นต้น
ผลของการทดลอง
เด็กส่วนใหญ่ไม่สามารถรอที่จะกินแมร์ชแมลโลว 2 ชิ้นได้ บางคนนั้น นักวิจัยยังไม่ทันก้าวพ้นประตูเด็กก็กดกริ่งแล้วเพราะต้องการกินขนมหวานทันที ความพยายามของเด็กบางคนที่จะอดกลั้นยับยั้งการกดกริ่งเรียก
วิธีการที่เด็กแต่ละคนใช้ในการ “สะกดใจ” ตนเองไม่ให้อยากกินแมร์ชแมลโลวทันทีนั้นหลากหลายมากและพวกเขาแสดงออกทางอาการต่าง ๆ เช่นอาจจะปิดตา เอนไปข้างหลัง เบือนหน้าหนีหรือกอดอก รวมถึง จินตนาการว่าแมร์ชแมลโลวนั้นเหมือนปุยเมฆที่ “กินไม่ได้” เป็นต้น
ประเด็นที่น่าสนใจ
เรื่องของนิสัยที่ติดตัวมาตั้งแต่เด็กเพราะยีนส์ก็คือ นิสัยหรือความสามารถที่จะอดทนและควบคุมตัวเองได้ต่อสิ่งยั่วเย้านั้น อาจจะสามารถสร้างขึ้นได้
นอกจากเรื่องของยีนส์แล้ว สภาวะแวดล้อมและการฝึกฝนมีส่วนกำหนดอุปนิสัยและพฤติกรรมได้อย่างมีนัยสำคัญ อาจจะถึงครึ่งหนึ่งหรืออย่างน้อย 30%-40% ขึ้นไป ดังนั้น สำหรับเด็กหรือคนที่สอบตก “Marshmallow Test” โอกาสที่จะปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นได้นั้นมีแน่นอน
ระบบการ “ควบคุมตนเอง” ต่อสิ่งเร้าหรือความอยาก
คนเรานั้นมีสองระบบนั่นคือ ระบบ “ร้อน” และระบบ “เย็น” โดยระบบร้อนนั้นมาจากสมองส่วนที่เป็นสัญชาตญาณมากกว่า ในขณะที่ระบบเย็นนั้นมาจากสมองส่วนที่เป็นเหตุผลและความนึกคิดมากกว่า
คนที่สามารถใช้หรือบังคับให้ตนเองใช้ระบบเย็นได้มากกว่านั้นจะสามารถที่จะตัดสินใจได้อย่างรอบคอบและถูกต้องกว่า การที่จะหลีกเลี่ยงไม่ให้ตนเองใช้ระบบร้อนและตัดสินใจโดยอิงกับเหตุการณ์หรือแรงกระตุ้นเฉพาะหน้านั้น เราจะต้องมองไปในอนาคตและดูว่าจะเกิดอะไรขึ้น
The Marshmallow Test and Executive Functions
คือ การทดสอบ Marshmallow และฟังก์ชั่นผู้บริหาร