Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา, ด.ญ.พีรดา เปลี่ยนเจริญ ม.3/13 10ก. - Coggle…
วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
วิทยาศาสตร์ในชีวิต
เครื่องซักผ้า เป็นเครื่องจักรที่ใช้สำหรับในการซักล้างเสื้อผ้า รวมถึงวัสดุอื่นที่ทำจากผ้า
เครื่องซักผ้าขึ้นมาใช้งาน โดยมีถังไม้ใหญ่บรรจุน้ำและผ้าซึ่งหมุนได้ด้วยแกนที่มีด้ามสำหรับหมุนด้วยมือ ผ้าจะผ่านลูกกลิ้งซึ่งคล้ายกับที่บดปลาหมึก ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1907 ชาวอเมริกันชื่อ อัลวา ฟิสเซอร์ได้สร้างเครื่องซักผ้าทีทำงานด้วยระบบไฟฟ้าได้สำเร็จ
ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ในชีวิต
วิทยาศาสตร์ช่วยให้มีความสามารถในสังคม ในสังคมที่มีสิ่งแวดล้อมทางวิทยาศาสตร์ บุคคลที่มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จะเป็นผู้มีความสามารถ และมีความสำคัญต่อการพัฒนาชุมชนและสังคม
วิทยาศาสตร์ช่วยแนะแนวอาชีพ วิทยาศาสตร์ก่อให้เกิดอาชีพหลายสาขา และเป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
วิทยาศาสตร์ช่วยให้เกิดความเจริญทางร่างกายและจิตใจ การได้รับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ อนามัย อาหาร การดำรงชีวิต จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตและมีสุขภาพแข็งแรง
วิทยาศาสตร์ช่วยให้เป็นผู้บริโภคที่สามารถ หมายถึง การตัดสินใจในการใช้สินค้าหรือบริการต่างๆ โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ช่วยให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ
วิทยาศาสตร์ช่วยให้รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ ข
วิทยาศาสตร์ช่วยแก้ปัญหาต่างๆ
ความ เจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตประจำวัน การที่เราจะอยู่ได้อย่างทันโลกและทันเหตุการณ์ จำเป็นต้องศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ใหม่ อยู่เสมอ เพราะวิทยาศาสตร์มีประโยชน์เกี่ยวข้องกับชีวิต และเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างคุณภาพที่ดีแก่ชีวิต
วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหาของมนุษย์
การออกแบบทางวิศวกรรม
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เป็นขั้นตอนที่นำมาใช้ในดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ซึ่งกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมนี้จะเริ่มจากการระบุปัญหาที่พบแล้วกำหนดเป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข จากนั้นจึงทำการค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้องและทำการวิเคราะห์เพื่อเลือกวิธีการที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไข เมื่อได้วิธีการที่เหมาะสมแล้วจึงทำการวางแผนและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ เมื่อสร้างชิ้นงานหรือวิธีการเรียบร้อยแล้วจึงนำไปทดสอบ หากมีข้อบกพร่องก็ให้ทำการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการนั้นสามารถใช้แก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการได้ ส่วนในตอนสุดท้ายจะดำเนินการประเมินผลว่าสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการนั้นจะสามารถใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้ตามที่กำหนดไว้หรือไม่
กระบวนนการแก้ปัญหาทั่วไป
1.ทำความเข้าใจปัญหา
1.1 ปัญหาคืออะไร
1.2ข้อมูลใดเกี่ยวข้องกับปัญหา
1.3 มีเงื่อนไขหรือต้องการข้อมํลใดเพิ่มเติม
2.วางแผนออกแบบแก้ปัญหา โดยคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
2.1 เคยพบปัญหาทำนองนี้มาก่อนหรือไม่
2.2 รู้จักทฤษฎี หลักการที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือไม่
2.3 ใช้วิธีแก้ปัญหาที่เคยประสบความสำเร็จมาก่อนได้หรือไม่
4.สรุปแล้วตรวจสอบการแก้ปัญหา
ด.ญ.พีรดา เปลี่ยนเจริญ ม.3/13 10ก.