Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star:ยาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทและ ยาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย :star:,…
:star:
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทและ
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
:star:
:red_flag:
ยารักษาโรคจิต
(Antipsychotic Drugs)
โรคจิต
หมายถึง ภาวะที่ผู้ป่วยไม่อยู่ในโลกแห่งความเป็นจริงแสดงออกมาโดยลักษณะดังข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้ เช่น อาการหลงผิด อาการประสาทหลอน Sisorganized speech Grossly disorganized behavior
สาเหตุของโรคจิต
เกิดจากพันธุกรรมระบบสารชีวเคมีในสมอง ความผิดปกติทางกายภาพและการทำงานของสมอง ปัจจัยทางด้านครอบครัวและสังคม
การออกฤทธิ์
Adrenergic Receptors (Ad.)
Cholinergic Receptors
Dopaminergic Receptors (D)
Histaminergic Receptors
Serotonergic Receptors (HT)
กลุ่มยารักษาโรค
Mesolimbic pathway
Mesocortical pathway
Nigrostriatal pathway
Tuberoinfundibular pathway
:red_flag:
ยาคลายกังวล
(Antianxiety Drugs)
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยา
กลุ่มโรควิตกกังวล
Depressive disorder
Alcohol withdrawal syndrome และ
alcohol withdrawal delirium
ภาวะนอนไม่หลับ
ใช้เป็นยาคลายกล้ามเนื้อ
ใช้รักษาอาการชัก
ผลข้างเคียง
1.การกดประสาทส่วนกลาง ง่วงซึม อ่อนแรง เดินเซ
2.อาการหลงลืม
3.Disinbibition ได้แก่การแสดงออกในสิ่งซึ่งตามปกติแล้ว
ผู้ป่วยไม่กล้าทำดังที่พบในผู้ดื่มสุรา
4.paradoxical excitement มีพฤติกรรมวุ่นวาย
อาละวาดก้าวร้าว ทำร้ายตนเองหรือผู้อื่นได้
:red_flag:
ยารักษาอาการเศร้า
(Antidepressant drugs)
การแบ่งกลุ่มยาตามกลไกที่ออกฤทธิ์
1.กลุ่ม tricyclic
2.กลุ่ม monoamine oxidase Inhibitor
3.ยากลุ่ม Selective serotonin reuptake inhibitors (SSRI)
4.กลุ่ม New generation
ผลข้างเคียง
1.Sedation ยา tricycle ทุกตัวมีฤทธิ์ sedation
2.ฤทธิ์ anticholinergic เป็นฤทธิ์ข้างเคียงที่พบบ่อย
3.ฤทธิ์ด้าน cardiovascular มีฤทธิ์ไปทำให้คลื่นหัวใจผิดปกติได้
4.Fine tremor พบได้ประมาณร้อยละ 10 โดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอายุ
5.Seizure
6.น้ำหนักเพิ่ม
7.Sexual effect
8.อาการกระวาย อยู่ไม่สุข นอนไม่หลับ
:red_flag:
ยาทำให้อารมณ์คงที่
(Mood Stabilizers)
Lithium
โดยมีกลไกการออกฤทธิ์ คือ การแย่งที่กับโซเดียมในการผ่านเข้าออก sodium Channel ของcell ทำให้ลดการกระตุ้นเซลล์ประสาท และการเก็บกลับของสารสื่อต่างๆเข้าในเซลล์ ยาจะถูกดูดซึมในทางเดินอาหารและถูกขับออกทางไต
ผลข้างเคียง
ทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
2.ระบบประสาทส่วนกลาง
3.ระบบต่อมไร้ท่อ
4.ในผู้ป่วยที่ใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน
5.ไต
:forbidden:
ข้อห้ามใช้และควรระวัง
-ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ lithium
-ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเฉียบพลัน
หรือไปทำงานบกพร่อง
-ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่ภาวะหัวใจล้มเหลว
-ห้ามใช้ในผู้ป่วยตั้งครรภ์
-ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะร่างกายขาดน้ำ
-ระวังการใช้ในป่วยโรคไทรอยด์
:red_flag:
ยาต้านชัก
Antiepileptic Drugs
การชัก
คือ ความผิดปกติของการเคลื่อนไหวความรู้สึกและความคิด เกิดเป็นช่วงๆเนื่องจากคลื่นไฟฟ้าในสมองผิดปกติ
สาเหตุการชัก
เช่นทารกแรกเกิดจากการขาดออกซิเจน เด็กและผู้ใหญ่ที่มีโรคทางประสาท
การแบ่งการชัก
การชักเฉพาะส่วน(partial or focal seizure)
-การชักเฉพาะส่วนธรรมดา
-การชักเฉพาะส่วนแบบซับซ้อน
-การชักเฉพาะส่วนที่ตามด้วยการชักทั้งตัว
การชักทั้งตัว (generalized seizure)
-การชักแบบเกร็งกระตุก
-การชักแบบเกร็ง
-การชักแบบกระตุก
-การชักแบบกระตุกของกล้ามเนื้อ
-การชักแบบ absence ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวระยะสั้น
:red_flag:
ยาต้านพาร์กินสัน
Anti-parkinsonosm Drugs
อาการ
-Termor at rest สั่นขณะพัก
-Muscle rigidity กล้ามเนื้อแข็ง
-hypokinesis หรือ akinesis
สาเหตุของโรค
เช่น สารพิษยาที่เหนียวนำให้เกิดโรคเช่นยาต้านโรคจิตซึ่งปิดกั้น dopamine receptor
:red_flag:
ยาคลายกล้ามเนื้อ Agents used in musculoskeletal disorder
ยาระงับ muscle Spasm
เกิดได้จากหลายสาเหตุ
เช่น โรคลมชัก แคลเซี่ยมในเลือดต่ำ
การได้รับบาดเจ็บ
ยาที่ใช้
1.Baclofen
2.Dantrolene
3.D-tubocurarine,
pancuronium,
atracurium,
vecuronium Succinylcholin
ยาระงับ muscle spasticity
ปาริฉัตร กลับกลาง
621201136