Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช,…
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ
ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
การบำบัดรํกษาทางจิตใจหรือจิตบำบัด (Psychotherapy)
เป็นการรักษาทางจิตเวชชนิดหนึ่ง เพื่อแก้อาการอันเกิดจาก ความผิดปกติด้าน จิตใจ อารมณ์ หรือปรับปรุงบุคลิกภาพของผู้ป่วยโดยอาศัย ความสัมพันธ์ การสื่อสาร ระหว่างผู้บำบัดกับผู้ป่วย และทฤษฎีทางจิตวิทยา
ประเภทของจิตบำบัดจำแนกตามจำนวนผู้ป่วย
จิตบำบัดรายบุคคล Individual psychotherapy
เป็นการรักษาที่สนใจปัญหาเฉพาะอย่างผู้ป่วย นิยมใช้
จิตวิเคราะห์ Psychoanalysis
เน้นบทบาทของแรงในจิตไร้สำนึกในโรคประสาท พิสูจน์จาก การฝัน การพลั้งปาก
จิตบำบัดแบบหยั่งเห็น Insight Psychotherapy
มุ่งบำบัดอาการของผู้ป่วยให้เห็นแจ้งเห็นจริงต่อความยัดแย้งของจิตใจ
จุดมุ่งหมาย
แก้ปัความขัดแย้งของจิตใจเฉพาะเรื่อง
แก้ไขกลไกทางจิตทำให้เกิดพยาธิสภาพ
ช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจความจริงของชีวิต
โรคที่ใช้รักษา
โรคประสาท
บุคลภาพแปรปรวน
กามวิตฐาน
จิตเภทชนิดแฝงโรคทางกายที่มีสาเหตุจากจิตใจ
จิตบำบัดแบบหยั่งเห็น Insight Psychotherapy
ส่งเสริมปรับกลไกการป้องกันทางจิต Defense mechanism ที่มีอยู่แล้วให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น
ส่งเสริมปรับกลไกการป้องกันทางจิต Defense mechanism ที่มีอยู่แล้วให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น
Encouragement
Guidance
Externalization of internet
Environmental manipulation
Suggestion
Persuasion
Ventilation or Catharsis
Desensitization
การสะกดจิต Hypnosis
ทำให้เกิดความผิดปกติในการรู้สึกตัว คล้ายกับการนอนหลับ ขณะถูกสะกดจิต ผุ้ป่วยจะมีสมาธิสูง. ละเชื่อฟังคำแนะนำหรือคำสั่งได้ดี
จุดมุ่งหมาย
ค้นหาปัระดับจิตไร้สำนึก
เพื่อการรักษา
แยกโรคทางกายและทางจิต
บทบาทพยาบาล
พยาบาลทั่วไป บริหารงานในหน่วยรักษาให้การพยาบาลตามแผนการรักษา
พยาบาลผู้ที่เชี่ยวชาญทางการพยาบาลจิตเวช สามารถทำจิตบำบัดได้ทั้งกับผู้ป่วยรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
จิตบำบัดกลุ่ม
เป็นการรักษาความแปรปรวนทางจิตใจ อาศัยอิทธิพลกลไกกลุ่ม เน้นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เกิดการเรียนรู้ ความไว้วางใจ ซื่อสัตย์
ชนิดของกลุ่มจิตบำบัด
กลุ่มการสอน Directive Group
กลุ่มพบปะสังสรรค์ Therapeutic Social Club
กลุ่มปลุกเร้าความรู้สึกเก้บกด Repressive Inspiration Group
กลุ่มการแสดงออกอย่างเสรี Free Interaction group or
Group Centered Psychotherapy
ละครจิตบำบัด Psychodrama
บทบาทพยาบาล
พยาบาลทั่วไป บริหารงานในหน่วยรักษาให้การพยาบาลตามแผนการรักษา
พยาบาลผู้ที่เชี่ยวชาญทางการพยาบาลจิตเวช สามารถทำจิตบำบัดได้ทั้งกับผู้ป่วยรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
ครอบครัวบำบัด Family Therapy
เป็นการรักษาสมาชิกในครอบครัวที่มีปัญหาทางจิต จุดมุ่งหมายให้การกระทำหน้าที่ในครอบครัวทั่ว ๆไปดีขึ้นเน้นไปที่ครอบครัวแทนที่จะเป็นตัวผู้ป่วย
ลักษณะครอบครัวที่ต้องการบำบัด
สมาชิกครอบครัวมีอำนาจ ใช้อำนาจไม่ถูกต้อง
สมาชิกครอบครัวมีอำนาจ ใช้อำนาจไม่ถูกต้อง
รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกไม่ปกติ
สมาชิกในครอบครัวสับสนในบทบาท
มีกระบวนการแพะรับบาป
ประเภทของครอบครัวบำบัด
แบบอิงวิเคราะห์
แบบให้ความสําคัญกับเรื่องขอบเขตโครงสร้างส่วนบุคคลของครอบครัว
ให้ความสําคัญกับเรื่องสื่อสารในครอบครัว
บทบาทพยาบาล
ติดต่อญาติ นัด วันเ เวลา สถานที่
จัดสถานในการทำกลุ่ม
เยี่ยมครอบครัวเพื่อสังเกตดูสภาพแวดล้อม
เป็น Leader หรือ Co-Leader
บันทึกพฤของสมาชิกที่แสดงออก ในขณะอยู่ในกลุ่ม
การบำบัดเชิงการู้คิด
แนวคิดพื้นฐานของการบำบัดความคิดและพฤติกรรม Cognitive-behavioral therapy :CBT
เชื่อว่าความคิดที่บิดเบือนไปจากความจริง ทำให้เกิดผลกระทบต่ออารมณ์ของมนุษย์
แนวทางการบำบัดคือ ประเมิน (evaluate )ความคิดให้ถูกต้อง ตามความเป็นจริงหรืออยู่ในโลกความเป็นจริงได้ (realistic) เกี่ยวกับ อารมณ์ พฤติกรรมของผู้ป่วย
การปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติทำได้ 3-ขั้นตอน
1 ค้นหาความคิดอัตโนมัติลบ หรือความคิดที่ทำให้เกิดทุกข์
2 ประเมินและตรวจสอบความคิดดังกล่าวว่าเป็นความจริงหรือไม่ มากน้อยเพียงใด
3 การตอบสนองต่อความ คิดอัตโนมัติ
ขั้นตอนการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม
สร้างสัมพันธภาพแห่งความไว้วางใจกับผู้รับการปรึกษา
ให้ความเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในมุมมองของแนวคิดทางปัญญาที่เหมาะสมกับความเข้าใจของผู้รับปรึกษา
แนะนำให้ผู้รับการปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม
ผู้รับการปรึกษามีความหวังจะปรับลดอารมณ์ที่ทำให้เกิดทุกข์ของตนเอง
ปรับความคาดหวังของผู้รับการปรึกษาให้เหมาะสมกับผลลัพธ์ที่จะได้รับจากการปรับความคิดและพฤติกรรม
ตั้งประเด็นสำหรับให้การปรึกษาร่วมกัน
ระบุอารมณ์ให้คะแนนระดับความแรงของอารมณ์ไม่เหมาะสม ณ ปัจจุบัน
สำรวจเบื้องต้นปัญหา
ระบุปัญหาและตั้งเป้าหมาย
สอนผู้รับการปรึกษาถึงความเชื่อมโยง ของความคิด อารมณ์ พฤติกรรมและสรีระ
มอบหมายการบ้าน
สรุปการสนทนาและให้ข้อมูลย้อนกลับ
นางสาวธิป ถาวระ เลขที่ 25