Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 การปรับตัวของร่างกายในภาวะพยาธิสภาพระดับเซลล์ - Coggle Diagram
บทที่2 การปรับตัวของร่างกายในภาวะพยาธิสภาพระดับเซลล์
ความเครียดเเละความผิดปกติในการทำงานของเซลล์
มนุษย์สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนเเปลงสิ่งเเวดล้อมทั้งภายในเเละภายนอกเพื่อให้คืนสู่สภาพปกติ
ถ้าร่างกายปรับตัวได้จะชนะหรืออยู่กับความเครียดที่เป็นสิ่งเรานั้นได้
ถ้าปรับตัวไม่ได้จะมีผลต่อร่างกายหรือจิตใจทำให้เกิดพยาธิสภาพหรือการเจ็บป่วยขึ้น
การอยู่รอดของเซลล์ในร่างกายเกิดจากความสมดุลของเซลล์
ภายนอกเซลล์ได้เเก่
ระบบฮอร์โมน
ควบคุมการทำงาน
การเสื่อมสภาพของเซลล์
การเจริญเติบโตของเซลล์
ความสามารถของร่างกายในการควบคุมร่างกายให้กลับสู่สภาพที่สามารถทำงานได้
กลไกการปรับตัวของร่างกาย
กลไกการปรับตัวเป็นส่วนหนึ่งของallotasis
กลไกการปรับตัวเพื่อให้เกิดสมดุล2ระดับ
มีเปลี่ยนเเปลงเมตาบอลิซึมเเละสารเคมีในร่างกาย
การเปลี่ยนเเปลงโครงสร้าง
ทำให้มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบของการเจริญเติบโต
กลไกการปรับตัว
ระยะที่2 stage of resistance
ระยะคุกคามยังคงอยู่ในร่างกาย
อันตรายอย่างถาวร
ร่างกายจะเข้าสู่ระยะต่อต้าน
ระยะนี้ระบบประสาทระบบประสาทส่วนนอกทำงานเต็มที่
ระยะที่3 stage of exhaustion
ร่างกายจะอยู่ในระยะที่2ยาว
สมารถกลับสู่สภาพเดิมได้เข้าสู่พยาธิสภาพ
ระยะที่1Alam reaction หรือfight or fight
เป็นระยะเตือนให้ร่างกายต้องมีพลังงานเพียงพอ เพื่อต่อสู้กับภาวะเครียด
ฮอร์โมนกับภาวะความเครียด
เมื่อเกิดความเครียดร่างการจะตอบสนอง
sympathico-adrena system
การทำงานต่อสู้ หรือหลบหนี โดยกระตุ้นซิมพาเทติก
จากต่อมหมวกไต
มีผลต่อ
หัวใจ
หลอดเลือด
ฤทธิ์ของฮอร์โมน
Epinephrine
มีการหลั่งกลูโคสจากตับ ทำให้เลือดเลี้ยงสมองดี ทำให้เกิดการตื่นตัว
ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ทำให้เลือกลับสู่หัวใจ เเละออกจากหัวใจมากขึ้น
Neropinephrine
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบในหลอดเลือดหดตัว
ทำให้เกิดความความดันโลหิต
กระตุ้นการหลั่งน้ำย่อย
Adenocotical steroid
cortisol , aldosteronel
หัวใจ
หลอดเลือด
การควบคุมในในร่างกาย
เมตาบอลิซึม
ระบบภูมิคุ้มกัน
การอักเสบ
การทำงานของสมอง
การสืบพันธ์ุ
รายละเอียดของฮอร์โมน
Glucocorticoid
2 more items...
ฮอร์โมนเพศเเละcortisal
1 more item...
aldosteronal
1 more item...
ความผิดปกติของการทำหน้าที่ของเซลล์
เมื่อต้องสิ่งเเวดล้อมภายในเเละภายนอกที่สามารถทำอันตรายต่อเซลล์ได้
การเจริญเติบโตของเซลล์จึงต้องมีการปรับตัว
ความผิดปกติที่เกิดขี้นในเซลล์
ปัจจัยการเปลี่ยนเเปลงของเซลล์
Atrophy
การลดขนาดของเซลล์
physiologic atrophy
ฝ่อลงในลักษณะปกติ
pathologic atrophy
ลักษณะการฝ่อเล็กลงที่เกิดจากพยาธิสภาพ
hypertrophy, hyperplasia
การมีขนาดโตขึ้นของเซลล์เนื้อเยื่อ
Intracellular accumulations
เป็นการสะสมสารภายในเซลล์
Aging
เป็นภาวะเสื่อมของเซลล์ไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้
Death
เป็นภาวะคงคามกับชีวิต เป็นจุดสุดท้ายของชีวิต
เซลล์ใหม่จะขึ้นมาเเทนที่ เซลล์อีกหลายชนิดไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้
การเปลี่ยนเเบบเเผนการเจริญเติบโตลักษณะผิดปกติ
Dysplasia
เซลล์เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ภายในเซลล์มีการเปลี่ยนเเปลงที่ผิดปกติ
Metaplasia
เซลล์เจริญเติบโตเต็มที่
ทำหน้าที่ได้เฉพาะเซลล์ที่มีวิวัฒนาการต่ำ
Anaplasia
มีลักษณะการเเบ่งตัวไม่เป็นระเบียบ
มีลักษณะหยาบเกาะกันเป็นกลุ่ม นิวเคลียสมี รูปร่างใหญ่
Neoplasia
เป็นเซลล์ที่มีการเร่างปลี่ยนเเปลงทั้งขนาด รูปร่าง เเละการจัดเรียงตัว
มีจำนวนเซลล์เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน
Metastasis
การเคลื่อนย้ายตำเเหน่งเซลล์มะเร็งจากตำเเหน่งเดิมไปยังหลอดเลือด
กลไกการปรับตัวต่อการเปลี่ยนเเปลงในด้าน เมตาบอลิซึม
เมื่อร่างกายต้องเผชิญกับสภาพสิ่งเเวดล้อมที่คุกคามต่อการเจริญเติบโตของเซล์ ร่างกายจะปรับตัวเเละตอบสนอง
ในขณะที่ขาดเเคลเซียม
จะดึงเเคลเซียมจากกระดูก
เพิ่มการทำงานของเซลล์
เพิ่มจำนวนเเละขนาดของเซลล์
ผลจากฮอร์โมน
ในขณะอดอาหาร
จะดึงเอาไขมันมาใช้พลังงาน
ลดการทำงานของเซลล์
ลดจำนวนเเละขนาดของเซลล์
เมื่องสิ่งเเวดล้อมเปลี่ยนเเปลงจะมีการเปลี่ยนเเปลงของขนาดเเละรูปร่างของเซลล์
การตอบสนองของเซลล์ต่อการบาาดเจ็บหรือทำลายเซลล์
Reversible injury
เซลล์ที่กลับสู่สภาพเดิมได้
เซลล์บวม
Na Ik ATPase เสียจาการขาดออกซิเจน
เกิดไขมัน
มีการสะสมไขมัน
irreversible injury
ไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้
necrosis
เซลล์ตายเป็นกลุ่ม
ไม่ต้องใช้พลังงาน
มีการอักเสบ
จัดเป็นพยาธิสภาพ
Apoptosis
ไม่มีการอักเสบ
ใช้พลังงาน
อาจเป็นพยาธิสภาพก็ได้หรือเป็นสภาวะปกติก็ได้
เซลล์ตายเเบบเดี่ยว
สาเหตุของตัวทำลายเซลล์
ระบบของร่างกายจะรักษาสมดุลให้้อยู่ในภาวะhomeostasis
ไม่ให้เกิดความเสียหายหรือไม่ให้เกิดโรค
ตัวอย่างการทำลายเซลล์
รังสี
รังสีจะทำลายเซลล์ที่มีการเเบ่งตัวมาก
ไฟฟ้า
ถ้ารุนเเรงจะทำให้กล้ามเนื้อหดตัว
กลไกการเปลี่ยนเเปลงของเซลล์เมื่อเกิดพยาธิสภาพ
ภาวะขาดออกซิเจน
เกิดจาการขาดออกซิเจนในสิ่งเเวดล้อม
เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ
ถูกทำลายเเบบirreversible
การเผาผลาญเเบบใช้พลังาน
กรดเเลคติค
เซลล์บวม
ขาดพลังานในการเเลกเปลี่ยน
ขาด
Na+ K+ที่เยื่อหุ้มเซลล์
ไม่ใช้โปรตีน
อนุมูลอิสระทำลายเซลล์
อนุมูลอิสระจับตัวกับโปรตีนไขมันคาโบไฮเดรต
ทำลายเยื่อหุมเซลล์ทำให้เอนไซม์ไม่ทำงาน
ภาวะสมดุลขาดเเคลเซียม
ผู้ส่งสารลำดับที่2
การสะสมไขมัน
เป็นการทำลายอีกเเบบหนึ่งที่เป็นอันตรายเเต่ไม่รุนเเรง
พยาธิสภาพการบาดเจ็บเเละการตายของเซลล์
การเปิดโปรเเกรมให้เซลล์ตาย
ถ้าไม่สามารถขจัดสิ่งกระตุ้นได้เซลล์ก็จะปรับตัวไม่ได้
ทำให้เกิดการตายของเซลล์