Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล, นายศราวุฒิ เป็งมูล 6201210255 เลขที่ 11…
บทที่ 6
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
6.1 ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด เรียก surgical wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัด เรียก cut wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stab wound
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้ เรียก crush wound
แผลที่เกิดจากการกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน เรียก traumatic wound
แผลที่เกิดจากถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่มีขอบแผลขาดกะรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจกการตัดอวัยวะบางส่วน เรียก stump wound
แผลที่เกิดจากการกดทับ เรียก pressure sore
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
13.1 จากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก (burn and scald)
13.2 จากสารเคมีที่เป็นด่าง (alkaline burn)
13.3 จากสารเคมีที่เป็นกรด (acid burn)
13.4 จากถูกความเย็นจัด (frost bite)
13.5 จากไฟฟ้าช็อต (electrical burn)
13.6 จากรังสี (radiation burn)
แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง (skin graft)
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)
ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกันไม่มีสารคัดหลั่ง เช่น แผลผ่ำตัดเย็บปิด เป็นต้น
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound)
ลักษณะของขอบแผลไม่ติดกันมีสารคัดหลั่ง
เช่น แผลผ่าตัดยังไม่เย็บปิด (delayed suture) เป็นต้น
ชนิดของแผลแบ่งตามลำดับความสะอาด
ประเภทที่ 1 แผลผ่าตัดสะอาด
ลักษณะเป็นแผลที่ไม่มีกำรติดเชื้อ, ไม่มีกำรอักเสบมำก่อน
ประเภทที่ 2 แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
ลักษณะแผลที่มีการผ่าตัดผ่านระบบทางเดินหายใจ, ระบบทำงเดินอาหาร
ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
ลักษณะแผลเปิด (open wound) แผลสด (fresh wound) แผลจากการได้รับอุบัติเหต
ลักษณะแผลเก่า (old traumatic wound) แผลมีเนื้อตาย (gangrene) แผลมีการติดเชื้อมาก่อน
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน (acute wound) เป็นการเกิดแผล และรักษาให้หายใน ระยะเวลาอันสั้น หรือการหายของแผลเป็นไปตามขั้นตอนการหายของบาดแผล
แผลเรื้อรัง (chronic wound) เป็นแผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานาน และรักษายาก หรือรักษาเป็นเวลานาน อาจมีอำการแทรกซ้อนตามมาภายหลัง
แผลเนื้อตำย (gangrene wound) เป็นแผลที่เกิดจากกกรขาดเลี้ยงไปเลี้ยง หรือเลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอ สำเหตุจากหลอดเลือดตีบแข็ง
ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีกำรจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ (Negative Pressure Wound Therapy: NPWT)
2.1 ลดการบวมของแผลและเนื้อเยื่อใกล้เคียงทันทีที่เปิดเครื่องดูดสุญญากาศ
2.2 เพิ่มปริมาณเลือดมาสู่แผล
2.3 กระตุ้นการงอกใหม่ของเซลล์ แรงจากการยืด
2.4 ลดแบคทีเรียในแผล
แผลท่อระบาย เป็นแผลผ่าตัดซึ่งศัลยแพทย์เจาะผิวหนังเพื่อใส่ท่อระบายของเสียจากการผ่าตัดเป็นท่อระบายระบบปิด
แผลท่อหลอดคอ (tracheostomy tube) เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ ทำการผ่าตัดเปิดหลอดลม
แผลท่อระบายทรวงอก (chest drain) เป็นแผลท่อระบำยที่ศัลยแพทย์ ทำการเจาะปอด เพื่อใส่ท่อระบายของเสียออกจากปอด
แผลทวำรเทียมหน้ำท้อง (colostomy) เป็นแผลท่อระบำยที่ศัลยแพทย์ทำผ่าตัดเปิดลำไส้ใหญ่ออกทางหน้าท้อง เพื่อระบายอุจจาระ
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
1.1 แรงกด (pressure)
1.2 ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
1.3 การได้รับอันตรายและอาการบวม (trauma and edema)
1.4 การติดเชื้อ (infection)
1.5 ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
1.5 ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
2.1 อายุ (age)
2.2 โรคเรื้อรัง (chronic disease)
2.3 น้ำในร่างกาย (body fluid)
2.4 การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies)
2.5 ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา(immunosuppression and radiation therapy)
2.6 ภาวะโภชนการ (nutritional status)
6.2 ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล (Type of wound healing)
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ (Primary intention healing)
เป็นแผลประเภทที่
ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย และเป็นแผลที่สะอาด
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ (Secondary intention healing )
เป็นแผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย มีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน ขอบแผลมีขนาดกว้างเย็บแผลไม่ได
การหายของแผลแบบตติยภูมิ (Tertiary intention healing)
เป็นแผลชนิดเดียวกับ
แผลทุติยภูมิ เมื่อทำการรักษาโยการทำแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด
กระบวนการหายของแผล (Stage of wound healing)
ระยะ 1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
การห้ามเลือด (hemostasis) จะเกิดขึ้นก่อน ในเวลา 5-10 นำที
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
เป็นระยะการสร้างเนื้อเยื่อใหม่จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
เป็นระยะสุดท้ายของการสร้างและความสมบูรณ์ของคอลลาเจน ซึ่งfibroblast จะเปลี่ยนเป็น myofibroblast
การบันทึกลักษณะบาดแผล
ชนิดของบาดแผล
ตำแหน่ง/บริเวณ
ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
สี เช่น แดง (readiness) เหลือง (yellow) ดำ (black) หรือปนกัน
ลักษณะผิวหนัง เช่น ผื่น (rash) เปียกแฉะ (Incontinence) ตุ่มน้ ำพองใส (bruises)
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล เช่น แผลกดทับขั้น 4
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง (discharge)
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
Continuous method
เป็นวิธีการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล
Interrupted method
2.1 Simple interrupted method
เป็นวิธีการเย็บแผลเพื่อดึงรั้งให้ขอบแผลทั้งสองติดกัน เหมาะสำหรับเย็บบาดแผลผิวหนังทั่วไป
2.2 Interrupted mattress method
เป็นวิธีการเย็บแผลโดยการตักเข็มเย็บที่
ขอบแผลสองครั้ง ใช้ในรายที่ต้องการความแข็งแรงของแผล เหมาะสำหรับเย็บแผลที่ลึกและยาว
Subcuticular method
เป็นการเย็บแผลแบบ continuous method แต่ใช้เข็มตรงในการเย็บ และซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง เหมาะสำหรับการเย็บด้านศัลยกรรมตกแต่ง
Retention method
เป็นวิธีการเย็บรั้งแผลเข้าหากัน เพื่อ
พยุงแผลในกรณีผู้ที่มีชั้นไขมันหน้าท้องหนา
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง (Absorbable sutures)
1.1 เส้นใยธรรมชาติ
1.2 เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุที่ไม่ละลายเอง (Non-absorbable sutures)
2.1 เส้นใยตามธรรมชาติ
2.2 เส้นใยสังเคราะห์
2.3 วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ
6.3 วิธีการทาแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
วัตถุประสงค์
ให้สภาวะที่ดีเหมาะแก่การงอกของเนื้อเยื่อ
ดูดซึมสารคัดหลั่ง
จำกัดการเคลื่อนไหวของแผลให้อยู่นิ่ง
ให้ความชุ่มชื้นกับพื้นผิวของแผลอยู่เสมอ
ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติดและดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่
ป้องกันแผลหรือเนื้อเยื่อที่เกิดใหม่จากสิ่งกระทบกระเทือน
ป้องกันแผลปนเปื้อนเชื้อโรคจากอุจจาระปัสสาวะสิ่งสกปรกอื่น ๆ
เป็นการห้ามเลือด
ช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
ชนิดของการทำแผล
1. การทำแผลแบบแห้ง (Dry dressing)
การทำแผลที่ไม่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล
2. การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)
การทำแผลที่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
1.1 ชุดทำแผล (dressing set)
ปากคีบไม่มีเขี้ยว
(non-tooth forceps)
ปากคีบมีเขี้ยว (tooth forceps)
ถ้วยใส่สารละลาย (iodine cup)
สำลี (cotton ball)
gauze
1.2 สารละลาย (solution)
alcohol 70%
น้ำเกลือล้างแผล
เบตาดีน
วัสดุสำหรับปิดแผล
2.1 ผ้าก๊อซ
2.2 ผ้าก๊อซหุ้มสำลี (top dressing)
2.3 ผ้าซับเลือด (abdominal swab)
2.4 วายก๊อซ (y-gauze)
2.5 วาสลินก๊อซ (vaseline gauze)
2.6 ก๊อซเดรน (drain gauze)
2.7 transparent film
2.8 แผ่นเทปผ้าปิดแผล
2.9 antibacterial gauze dressing
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
วัสดุที่ใช้ คือ plaster ชนิดธรรมดา เช่น transpore
อุปกรณ์อื่น ๆ
กรรไกรตัดไหม (operating scissor)
กรรไกรตัดเชื้อเนื้อ
(Metzenbaum)
ช้อนขูดเนื้อตาย (curette)
อุปกรณ์วัดความลึกของแผล (probe)
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก
ชามรูปไต ถุงพลาสติก
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ) หยิบผ้าปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลอยู่ด้านในทิ้งลงชามรูปไต หรือถุงพลาสติก เป็นต้น
เปิดชุดทำแผล (ตามหลักการของ IC) หยิบ forceps ตัวแรกโดยใช้มือจับด้านนอกของผ้าห่อชุดทำแผล หยิบขึ้นแล้วใช้ forceps ตัวแรกหยิบ forceps ตัวที่สองวาง forceps ไว้ด้านข้างถาดของชุดทำแผล
หยิบ non-tooth forceps ใช้คีบส่งของ sterile ทำหน้าที่เป็น transfer forceps
หยิบ tooth forceps ใช้รับของ sterile ทำหน้าที่เป็น dressing forceps
หยิบสำลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ แผลวนจากในออกนอกห่างแผล 1 นิ้วเป็น
บริเวณกว้าง 2 นิ้ว
หยิบสำลีชุบ 0.9% NSS เช็ดจากบนลงล้างจนแผลสะอาดแล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
ทำแผลด้วย antiseptic solution ตามแผนการรักษา (ถ้ามี)
ปิดแผลด้วย gauze ติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัวโดยเริ่มติดชิ้นแรกตรงกึ่งกลางของแผลและไล่ขึ้น-ลงตามลำดับ ส่วนหัวและท้ายต้องปิดทับผ้า gauze กับผิวหนังให้สนิท
เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอด mask และล้างมือ ทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก (Wet dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ) เปิดชุดทำแผลตามหลัก IC หากผ้า gauzeแห้งติดแผลใช้สำลีชุบน้ำเกลือหยดบนผ้า gauze ก่อน เพื่อให้เลือดหรือสารคัดหลั่งอ่อนตัว
ทำความสะอาดริมขอบแผลเช่นเดียวกับการทำ dry dressing
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาตามแผนการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยา (solution) ใส่ในแผล (packing) เพื่อฆ่าเชื้อและดูดซับ
สารคัดหลั่งให้ความชุ่มชื้นแก่เนื้อเยื่อ
ปิดแผลด้วยผ้า gauze และปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย (Tube drain)
การเตรียมเครื่องใช้ในการทำแผล
ใช้ non-tooth forceps หยิบสำลีชุบ alcohol 70% ส่งต่อให้ tooth forceps
ใช้สำลีชุบ NSS เช็ดตรงกล้างแผลท่อระบาย แล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
ใช้สำลีชุบ alcohol 70% เช็ดท่อระบายจากเหนือแผลออกมาด้านปลายท่อระบาย เช็ดด้วยสำลีแห้ง
พับครึ่งผ้า gauze วางสองข้างของท่อระบายแล้ววางผ้ำ gauze ปิดทับท่อระบายอีกชั้น และปิดพลาสเตอร์ให้เรียบร้อย
หลังการทำแผลเสร็จแล้วจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย และดูแลสภาพแวดล้อม พยาบาลต้องให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
การตัดไหม (Suture removal)
หลักการตัดไหม
ต้องดึงไหมออกให้หมด เพราะถ้าไหมตกค้างอยู่ใต้ผิวหนัง จะกลายเป็นสิ่งแปลกปลอมและเกิดการอักเสบติดเชื้อได้
ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอัน (total stitches off) หรือตัดอันเว้นอัน (partial stitches off)
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทำ และปิดแผลด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งให้ขอบแผลติดกัน (sterile strip)
วิธีทำการตัดไหม
ทำความสะอาดแผล ใช้ alcohol 70% เช็ดรอบแผล
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted method
การตัดไหมที่เย็บแผล ชนิด interrupted mattress
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทำความสะอาดแผลผ่าตัดตามปกติ
ภายหลังตัดไหมครบทุกเส้นแล้ว เช็ดแผลด้วย normal saline 0.9% และเช็ดให้แห้งอีกครั้ง ปิดแผลต่อไว้อีก 1 วัน
นายศราวุฒิ เป็งมูล 6201210255 เลขที่ 11 วิชา SN213