Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์การเเละการจัดการ - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์การเเละการจัดการ
ความหมายขององค์การ (Organization)
องค์การ คือ การจัดระเบียบโดยนำส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมารวมกันในรูปเเบบของส่วนรวม เพื่อให้มีการใช้อำนาจบริหารงาน เเละเป็นศูนย์อำนวยการ เพื่อให้การดำเนินงานลุล่วงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
มุมมองต่อเเนวการบริหารจัดการ (Views of the concept of Management) ในโลกของนักบริหาร มุมมอง เเนวคิด เเละวิธีการ เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยบ่งบอกว่าคุณจะเป็นนักบริหาร ในสังคมโลกของเราที่มีด้วยกันหลายประเทศนั้น มีมีมมองด้านการาจัดการเเละ การบริหารงานทางธุรกิจ
ความสำคัญของการจัดการ(The important of managerment)
ธุรกิจจะดำเนินงานประสบการณ์ความสำเร็จมากน้อยเพียงใดก็ขึ้นอยู่กับการจัดการเเละบุลคลที่รับผิดชอบในการจัดการ ตังนั้นการมีผู้บริหารที่มีความสามารถเป็นสิ่งที่องค์กรทุกองค์กรต้องการ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ต้นทุนทางธุรกิจเเละทรัพยากรทางการบริหารที่อยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร
ลักษณะขององค์การ
1)พิจารณาจากองค์การจากที่อยู่รอบตัวเรา เเบ่งได้3ลักษณะมีดังนี้
องค์กรทางสังคม เช่น ครอบครัว โรงเรียน มหาวิทยาลัย วัด สมาคม เเละกลุ่มต่างๆ
องค์การทางราชการ หรือองค์รัฐบาล เช่น หน่วยงานราชการ กรทรวง กองต่างๆ ที่เรียกว่า ระบบราชการ(Bureaucracy)
องค์การเอกชน เช่น ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัท
2) พิจารณาลักษณะองค์การตามหลักวิชาการ เเบ่งได้ 5 ลักษณะมีดังนี้
องค์การคือกลุ่มบุลคล (Orgenization as a Group of People) เป็นลักษณะขององค์การที่เน้นความสำคัญในเรื่องราวรวมกลุ่มของบุลคล โดยมีเป้าหมายในการจัดตั้งองค์การ
องค์การคือโครงสร้างของความสัมพันธ์ (Orgenization as a Structure of Rrlationship) เป็นการมองลักษณะขององค์การในรูปกรอบของความรับผิดชอบระหว่างหน่วยงานต่างๆ
องค์การเป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งขององค์การ (orgenization as a function of Management) องค์์การในที่นี้หมายถึงการกำหนดเเละการจัดหาทุน วัสดุ เครื่องมือ เเละบุคลากร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
องค์การเป็นระบบอย่างหนึ่ง (Orgenization as a system) คำว่า ระบบ คือกลุ่มงานต่างๆ มาเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันเเละกัน จะประกอบด้วยส่วนย่อยๆ
องค์การเป็นกระบวนการ (Orgenization as a process)การจะดการกลุ่มงานที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันเข้าด้วยกัน เเบ่งงานกันทำตามความสามารถ โดบมีการกำหนดอำนาจหน้าที่เเละความรับผิดชอบ
ความท้าทายในการบริหารจัดการในอนาคฅ (Managerment challenges in the future)
การเปลี่ยนเเปลงที่รวดเร็วของสิ่งเเวดล้อมเเละทรัพยากรทั้งภายในเเละภายนอกองค์กร ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องยอมรับว่าทุกอย่างที่กล่าวมาเปลี่ยนเเปลงอยู่ตลอดเวลา
การบริหารจัดการธุรกิจยุคดิจิทัล ได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากก้าวหน้าของเทคโนโลยีสาารสนเทศเเละการสื่อสาร องค์กรต้องปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อความอยู่รอดเเละตวามก้าวหน้าขององค์กร
ความหมายของการจัดการ (Defining Management) กระบวนการ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องการปฏิบัติหน้าที่เเละส่งเสริมให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ประกอบด้วยขั้นตอนสำคัญ 5 ขั้นตอน คือ การวางเเผน การจัดองค์กร การบังคับบัญชา การประสานงาน เเละการควบคุม
ประเภทขององค์การ
1)เเบ่งตามความมุงหมายที่จัดตั้งขึ้น
-องค์การเพื่องผลประโยชน์ร่วมของสมาชิก (Mutual-benefit) เช่น พรรคการเมือง สมาคม
-องค์การเพื่อธุรกิจ (Business corncern) เช่นบริษัท ห้างร้าน
-องค์การเพื่อสาธารณะ(Commonweal orgenization) เช่น กระทรวง ทบวง กรง กอง
-องค์กรเพื่อการบริการ (Service orgenization) เช่นโรงเรียน โรงพยาบาล
2)เเบ่งตามหลักการจัดระเบียบภายในองค์การ
องค์การรูปนัย (Formal Orgenizzation) องค์การที่มีระเบียบเเบบเเผน มีโครงสร้างที่ชัดเจน-องค์การอรูปนัย (Informal Orgenization) การที่กลุ่มบุคคลมารวมตัวกันเป็นสังคมที่ไม่มีระเบียบเเบบเเผน ไม่มีรูปเเบบเฉพาะ
ทรัพยากรทางการบริหารจัดการ(Resources Management) ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญต่อการบริหาร ที่เรียกว่า 9M
การบริหารวัสดุอุปกรณ์(Material)
การบริหารงานทั่วไป(Management)
การบริหารการตลาด (Market)
การบริหารคุณธรรม(Morality
การบริหารคน (Man)
การบริหารเงิน(Money)
การบริหารข่าวสาร(Message)
การบริหารเวลา(Minute)
การบริหารวัดผล(Measurement)
กระบวนการบริหารจัดการ : หน้าที่ของการบริหารจัดการ (The Management Process: Managerment)
การวางเเผน(planning) กำหนดหน้าที่การงานที่ต้องปฎิบัติ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร
การจัดองค์การ (Orgenizing) เป็นการมอบหมายงานให้บุคคลในเเผนก
การสั่งการ(Direcing) ประกอบด้วยเนื้อหา 2เรื้อง คือ ภาวะผู้นำ(Leadership) เเละ การจูงใจ (M0tivation)
การควบคุม (Controlling) เป็นการควบคุมองค์กรให้การดำเนินงานต่างๆ ภายในองค์องค์
ทักษะด้านการบริหารจัดการ(Management Skills)มีความสำคัญมากต่อความอยู่รอดเเละเจริญเติบโตขององค์กร เเคตซ์(Robert L.Katz) กล่าวว่าความสำเร็จของการบริหารจัดการ ขึ้นอยู่กับการทำงานมากกว่าอุปนิสัยส่วนบุคคล เเคตซ์ ได้กำหนดทักษะสำคัญไว้ 3 ประการ มีดังนี้
ทักษะด้านเทคนิค เป็นความรู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางในการปฎิบัติงานเชิงเทคนิค
เเละกฎระเบียบในการปฎิบัติงาน
ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ เป็นทักษะที่สร้างความสัมพันธ์ ความร่วมมือ การติดต่อพูดคุยรวมถึงทักษะเกี่ยวกับทัศนะคติ
ทักษะด้านความคิด เป็นทักษะด้านความสามารถในการเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างหลายๆ หน้าที่เเละระบบขององค์กรทั้งระบบ
การจัดการเป็นทั้งศาสตร์เเละศิลป์
เพราะการจัดการเป็นความรู้ที่สามารถถ่ายทอด ได้มีทฤษฎีเเนวคิด หลักการต่างๆ รองรับ เเละมีการศึกษาค้นคว้า ทดลองปฎิบัติจริงจังกันิย่างต่อเนื่อง