Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
ท่าที่เหมาะสม
ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมตัวพยาบาล
การจัดท่าผู้ป่วย
ท่านอนหงาย
ท่านอนตะแคง
ท่านอนคว่ำ
ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ
ท่านั่งบนเตียง
ท่านอนหงายชันเข่า
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง
ท่านอนคว่ำคุกเข่า
ท่านอนศีรษะต่ำปลายเท้าสูง
การเตรียมผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
หมุนข้อตะโพก
กางและหุบข้อตะโพก
เหยียดข้อเข่า
งอข้อเท้า หมุนข้อเท้าเข้าหาตัวและออกจากตัว
งอและเหยียดนิ้วเท้า
เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพกต้นขา
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา
เพิ่มการพยุงตัว
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
Parallel bar = ราวคู่ขนาน
Walker
Cane
Crutches
การเตรียมผู้ปุวยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกความแข็งแรง
การฝึกในท่าตั้งตรง
การฝึกในราวคู่ขนาน
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน
รูปแบบการเดิน
Three – point
Swing – to gait
Two – point gait
Swing – through
Four – point gait
วิธีการฝึกผู้ปุวยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
ไม้ค้ำยันรักแร้
Lofstrand crutch
Platform crutch
ไม้เท้า (Cane)
ไม้เท้า 3 ขา (Tripod cane)
Walker จะให้Support มากที่สุดในช่วงการเดินเมื่อเทียบกับ Cane
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
การออกก าลังกายชนิดที่ให้ผู้ปุวยท าร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน
การออกก าลังกายให้ผู้ปุวยออกแรงต้านกับแรงอื่น
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการปวดหลัง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานมากขึ้น
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า
ะบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทำให้เบื่ออาหาร
มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญอาหารลดลง
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
การประเมินสภาพผู้ป่วย