Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของวิชาชีพครู - Coggle Diagram
วิวัฒนาการของวิชาชีพครู
ความก้าวหน้าของวิชาชีพครู
ชื่อตำแหน่ง
ครูผู้ช่วย ครู
คุณสมบัติ
ครูผู้ช่วย 2 ปี ผ่านการประเมินการเตรียมความพร้อมและ.......
มีใบประกอบวิชาชีพครู
มีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี
ชื่อวิทยฐานะ
ครูเชี่ยวชาญ
คุณสมบัติ
ดำรงตำแหน่งครูชำนาญการพิเศษมาไม่น้อยกว่า 3 ปี
ได้รับเงินวิทยฐานะ คศ.4
ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
คุณสมบัติ
มีการวิจัยและพัฒนา สร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อเป็นประโยชน์ เผยแพร่อย่างกว้างขวาง
ครูชำนาญการพิเศษ
คุณสมบัติ
ดำรงตำแหน่งครูชำนาญการมาไม่น้อยกว่า 1 ปี
ได้รับเงินวิทยบานะ คศ.3
ครูชำนาญการ
คุณสมบัติ
ดำรงตำแหน่งครูมาไม่น้อยกว่า 6 ปี 4 ปี.......
ได้รับเงินวิทยฐานะ คศ.2
การปฏิรูปวิชาชีพครู
พระราชบัญญัตกรศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 7
จัดให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคลากรของข้าราชการครู
จัดให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ของข้าราชการคูและบุคลากรทางการศึกษา
จัดให้มีการควบคุมและรักษามาตรฐานการประกอบวิชาชีพครู
มาตรฐานด้านการปฏิบัติตน
มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน
มาตรฐานด้านความรู้และประสบการร์วิชาชีพ
จัดให้มีกองทุนส้่งเสริมครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ผลงานดีเด่น
ให้หน่วยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จัดให้มีระบบและกระบวนการผลิต และพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษาให้มีมาตรฐานเหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง
วิวัฒนาการของวิชาชีพครูของอเมริกา
ปี 1890-1910 กลุ่มผู้หญิงก่อจลาจล
ผู้หญิงยังคงถูกกดขี่เรื่องการทำงาน สามารถก่อตั้งสหภาพครุอเมริกา และสมาคมการศึกษาแห่งชาติ
ปี 1930-1960 ช่วงสงบ
มีการแบ่งแยกสีผิวทั้งครู โรงเรีย นักเรียน ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูยังไม่เป็นระเบียบและไม่ชัดเจน
ปี 1850-1880 ผู้หญิงมีบทบาทในห้องเรียน
การสอนแบบฉบับอเมริกัน
สถาบัน Hampton
ปี 1910-1930 ปีแห่งการปฏิรูปการศึกษา
ครูผู้หญิงเริ่มประสบความสำเร็จในอาชีพมากขึ้น
ปี1840 สิทธิสตรีเริ่มได้รับการสนับสนุน
วิทยาลัยครู : เตรียมครูเพื่อเข้าสู่ระบบการทำงานโรงเรียนมัธยม
ผู้หญิงสามารถสอนเด็กให้มีประสิทธิผลมากกว่าผู้ชายแต่ได้รับค่าแรง 1 ส่วน 3 ของค่าแรงผู้ชาย และถูกดูแคลนเรื่องการสอนเด็กที่โตและไม่เชื่อฟัง
การเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
สถาบันผลิตครูเพื่อพัฒนาเฉพาะด้าน เช่น การบริหารโรงเรียน จิตวิทยาการศึกษา สังคมวิทยา
ปี1772 ถึงช่วงต้นศตวรรษที่ 18
ยุคสมัยของโรงเรียนสามัญ : ครูผู้ชาย ไม่ได้รับการศึกษาตรงตามหลักสูตรที่สอน จัดโรงเรียนให้เพียงพอต่อเด้ก ไม่แบ่งศาสนาและชนชั้นทางสังคม ขาดแคลนครูผู้ชายที่เก่ง
วิวัฒนาการวิชาชีพครูในสมัยก่อนกรุงสุโขทัยถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ช่วงที่ 2 การศึกษสมัยปฏิรูปการศึกษาพ.ศ.2412-2474
ยุคก่อนมีพระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488
ช่วงที่ 3 การศึกษาไทยสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญระยะเเรก(พ.ศ.2475-2491)
ยุครุ่งอรุณของวิชาชีพครู มีการดำเนินงานในรูปสมาคมวิชาชีพได้รุ่งเรือง แต่ก็ประสบความผันผวนเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนั้นจึงได้มีการตราพระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488 คือมีสภาเรียกว่า คุรุสภา มีหน้าที่แทนสามัคยาจารย์สมาคมในเรื่องของวิชาชีพและความเห็นเรื่องนโยบาย
ช่วงที่ 1 การศึกษาของไทยสมัยโบราณ
การศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา(พ.ศ.1893-2310)
การศึกษาสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น(พ.ศ.2311-2411)
การศึกษาสมัยกรุงสุโขทัย(พ.ศ.1781-1921)
ช่วงที่ 4 การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2492-2534)
ยุคแห่งความคิดเเละความพยายาม
พ.ศ.2523 คุรุสภาจัดประชุมสัมนาเพื่อยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครู นำเสนอสาระสำคัญของสถาบันครู แนวทางการออกใบประกอบอนุญาติวิชาชีพครูในต่างประเทศ
ช่วงที่ 5 การศึกษาสมัยปัจจุบัน (พ.ศ.2535-ปัจจุบัน)
ยุคทองของวิชาชีพครู
จัดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงการศึกษา สนับสนุนค้นคว้าวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครู
การพัฒนาตนเพื่อก้าวหน้าสู่ความเป็นครูมืออาชีพ
จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นทักษะกระบวนการ
ศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ หลักสูตรการศึกษาให้ชัดเจน
กิจกรรมควรมีการบูรณาการร่วมกันที่หลากหลาย
ต้องศึกษาแนวทางการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของกระทรวง โรงเรียน
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการสัดผลประเมินผลที่หลากหลายตามสภาพจริง
ปฏิบัติตนให้เหมาะสม เป็นที่ยอมรับของทุกคน
กิจกรรมที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
ทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดการเรียนรู้
อบรม แนะนำพัฒนาผู้เรียน ติดตามแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองตลอดเวลา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคนอื่นๆ
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น ๆ มีเครื่อข่าย
รู้จักผู้เรียน จุดเด่นจุดด้ยที่ต้องพัฒนา
มีความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้ ทักษะการสื่อสาร รู้ทันเหตุการณ์
วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
วิวัฒนาการของวิชาชีพครูของไทย
พ.ศ. 2414
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งโรงเรียนเป็นกิจลักษณะ
พระยาศรีสุนทรโวหาร(น้อย อาจาริยางกูร)ปลัดพระอาลักษณ์เป็นอาจารย์ใหญ่เเละขุนนาง
พ.ศ.2431
จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครู คัดเลือกผู้ที่เรียนดีมีความประพฤติดีในแต่ละจังหวัด
พ่อสอนลุูกชาย แม่สอนลูกสาว
พระมหากษัตริย์และอาลักษณ์
ปลัดพระอาลักษณ์และขุนนาง
ครูใหญ่ ครู
พ.ศ. 2467
จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูมูลกสิกรรมขึ้น สอน ป.4-5
พ.ศ.2491
โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดพระนครศรีอยุทธยา
พ.ศ. 2499
ยุบเลิกหลักสูตรการฝึกหัดครูระดับ ป.ป. ป.ว. ป.ม. เปิดหลักสูตร ป.กศ.
พ.ศ.2500
จอมพลป.พิบูลสงครามเป็นนายกครั้งแรกได้กำหนดวันครู 16 มกราคม
พ.ศ.2535
โรงเรียนฝึกหัดครูที่เเรก คือโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ สอยระดับครูประถม
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาวิชาชีพครูในประเทศไทย
ปัญหา
เป็นวิชาชีพที่ถูกดูหมิ่นดูแคลน รายได้น้อย ปัญหาใหญ่เกี่ยวกับครู บุคลากรทางการศึกษา มีปัญหาตั้งแต่ ผลิต การใช้ การพัฒนาและรักษามารตรฐานวิชาชีพครู
แนวทางการพัฒนา
กำหนดบทบัญญัติให้มีการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษา