Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:warning:บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิ…
:warning:
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
:warning:
การบำบัดรักษาทางกาย (Somatic therapy)
จิตเภสัชบำบัด
:smiley:
ยารักษาโรคจิต
:check:
นิยมใช้มี 2 ชนิด คือ Phenothiazine derivatives และ Butyrophenone derivatives
ยารักษาอาการซึมเศร้า (Antidepressant drugs)
:check:
การพยาบาล
:star:
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระดับอารมณ์ซึมเศร้าของผู้ป่วยและความคิดฆ่าตัวตาย
สังเกตและบันทึกอาการข้างเคียงต่างๆ ที่เกิดขึ้น
ตรวจสอบและติดตามการมีปฏิกิริยาร่วมกับยาตัวอื่น ๆ ของยาในกลุ่มนี้
ยาในกลุ่ม TCAs สังเกตผลการรักษาเมื่อได้รับยาไปประมาณ 2-3 สัปดาห์
ยากลุ่ม MAOIs เพื่อให้ประสิทธิภาพการรักษาสูงสุดต้องใช้ยานาน 2-6 สัปดาห์
ให้คำแนะนำผู้ป่วย
รับประทานยาตามแพทย์สั่งไม่ควรปรับขนาด หรือหยุดยาเอง
หลีกเลี่ยงยาหรือสารต่าง ๆ ทีมาเสริมฤทธิ์ของยา เช่น ยาแก้หวัด หรือยาที่แพทย์ไม่ได้สั่ง
ยาในกลุ่ม MAOIs ให้หลีกเลี่ยงอาหารที่มี Tyramine และ Caffeine หรือเครื่องดื่มที่มี Alcohol
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายอย่างรุนแรงในสภาพอากาศที่ร้อนจัด โดยเฉพาะผู้ที่รักษาด้วยยากลุ่ม MAOIs
Monoamine Oxidase inhibitors (MAOI)
Tricyclic antidepressants
Bicyclic antidepressants
Tetracyclic antidepressants
:check:
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood-stabilizing drug)
Lithium Carbonate
:star:
การพยาบาล
รับประทานยาระหว่างมื้ออาหารหรือหลังอาหารทันที
ระยะแรก : ตรวจหาระดับของลิเธียมในกระแสเลือด สัปดาห์ละ 2 ครั้ง จนกว่าจะมีระดับคงที่หรือควบคุมอาการได้
ระยะแรกของการได้รับยาจึงต้องใช้ยากลุ่มรักษาอาการทางจิตควบคุมอาการไปก่อน และต้องสังเกตประเมินลักษณะอารมณ์ของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
ติดตามและประเมินอาการข้างเคียง
กินยาตามแพทย์สั่ง ไม่ปรับหรือหยุดยาเอง ใช้ระยะเวลาประมาณ 3-5 สัปดาห์จึงจะเห็นผล
:check:
ยาคลายกังวล (Anxiolytic, Antianxiety drug)
Sedative
:star:
การพยาบาล
อย่าหยุดยาอย่างกะทันหัน
ควรรายงานแพทย์ถ้ามีอาการต่อไปนี้ เช่น มีไข้ เจ็บคอ มีผื่นตามผิวหนัง มีจุดเลือดหรือมีจ้ำตามตัว
หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้บ่อย ๆ โดยไม่จำเป็นเพราะทำให้เสพติดได้
ไม่ควรปรับเปลี่ยนขนาดยาหรือซื้อยามากินเอง
ยา Lorazepam (Ativan) ใช้อมใต้ลิ้น
สังเกตอาการข้างเคียง และติดตามผลการรักษา
ควรฉีดเข้ากล้ามเนื้อมัดใหญ่ และฉีดลึกให้เพียงพอ
ควรให้ยาเฉพาะก่อนนอน
Benzodiazepines
การรักษาด้วยไฟฟ้า
:fire:
ใช้กระแสไฟฟ้าจำนวนจำกัดผ่านเข้าสมองในระยะเวลาจำกัด ทำให้เกิดอาการชักเกร็งทั้งตัว (Grandmal Seizaue) ทำให้ความผิดปกติทางจิตบางชนิดลดลง
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของพยาบาล
:red_flag:
เตรียมก่อนทำ
ให้ญาติเซ็นใบยินยอม
เตรียมทางด้านจิตใจ โดยบอกให้ผู้ป่วยทราบ อธิบายให้เข้าใจ ให้ความมั่นใจเพื่อลดความวิตกกังวลและกลัว
เตรียมด้านร่างกาย
ดูแลความสะอาดทั่วไป สวมเสื้อผ้าหลวมๆ
งดอาหารและน้ำทางปากก่อนไปอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
ให้ปัสสาวะก่อนไป
ขณะทำ
:red_flag:
จัดให้นอนหงาย ใช้หมอนทรายรองตรงส่วนโค้งของกระดูก
เตรียมยาและช่วยแพทย์ฉีดยา ตามด้วยการให้ออกซิเจนสูดดม
เตรียมเครื่อง ECT ให้พร้อมและติดอิเลคโทรดที่ขมับทั้ง 2 ข้าง ทา Electrode jelly บนด้านที่ติดกับผิวหนัง
กดปุ่มที่เครื่อง ECT เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในสมอง ระหว่างนี้ต้องจับคางผู้ป่วยไว้ด้วย
:red_flag:
หลังทำ ECT
จัดท่านอนหงายราบ เอียงศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ระวังการหยุดหายใจ
ให้ผู้ป่วยอาบน้ำเปลี่ยนเสื้อผ้า รับประทานอาหาร
ถ้าปวดศีรษะหรือเมื่อยกล้ามเนื้อมาก ให้นอนหลับพักผ่อน
ลงบันทึกอย่างละเอียด
การผูกยึดและการจำกัดพฤติกรรม
:warning:
พฤติกรรมที่ต้องผูกมัดหรือจำกัดบริเวณ
พฤติกรรมในรูปของการทำลาย
พฤติกรรมสับสนวุ่นวาย แปลกๆ
มีพฤติกรรมที่แสดงออกมาจากผลของความขัดแย้งในใจ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความไม่สบายต่าง ๆ
พฤติกรรมที่ต้องยึดผู้อื่นเป็นที่พึ่งพิง
:star:
การพยาบาล
ต้องมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วยมีความสม่ำเสมอทั้งคำพูดและท่าทาง
ควรบอกผู้ป่วยทุกครั้งที่จะจำกัดพฤติกรรม ระยะเวลา และพฤติกรรมที่จะจำกัด
ควรใช้คำพูดก่อน ถ้าไม่ได้ผลจึงจะใช้วิธีผูกมัดและจำกัดบริเวณ
ขณะที่ควบคุมผู้ป่วย พยาบาลต้องไม่พูดหรือแสดงกิริยาดูถูกว่าผู้ป่วยพูดไม่รู้เรื่อง แต่ต้องอธิบายให้เข้าใจ
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ไม่ทอดทิ้งให้อยู่คนเดียว ไม่ให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าถูกลงโทษ
ต้องตรวจดูการไหลเวียนเป็นระยะ ๆ อาจเปลี่ยนท่าให้ผู้ป่วยทุกครึ่งชั่วโมง
การใช้ยาและการจำกัดขอบเขต
แพทย์อาจให้ฉีดยาเพื่อให้สงบก่อนนำเข้าห้องหรือให้ยาหลังจากนำผู้ป่วยเข้าห้องเรียบร้อยแล้ว
ปัจจุบันการใช้ห้องแยก (Room seclusion) ยังมีประโยชน์ในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการรุนแรง
นางสาวปิยธิดา เตราชูสงค์ เลขที่ 37