Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise)
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise)
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้าหรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ปุวยและให้ผู้ป่วยได้พัก
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย พยาบาลจะให้การช่วยเหลือผู้ป่วยนั้นควรทราบข้อมูลต่างๆ ของผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การช่วยบุคคลที่ด้อยสมรรถภาพ ทางกาย จิตใจ บุคคลที่เจ็บป่วยเรื้อรัง หรือบุคคลที่อยู่ในระยะพักฟื้น ได้ตระหนักถึงสมรรถภาพของตนเองที่ยัง เหลืออยู่ และนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิตและการทำงานหรือจุดมุ่งหมายของการฟื้นฟู สมรรถภาพเพื่อปูองกันความพิการหรือความด้อยสมรรถภาพที่อาจเกิดขึ้น
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
เหยียดข้อเข่า
งอข้อเท้า
กางและหุบข้อตะโพก
งอและเหยียดนิ้วเท้า
หมุนข้อตะโพก
เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน ให้พยาบาลยืนข้างผู้ป่วยคน ละด้าน มือพยาบาลข้างใกล้ตัวผู้ป่วยสอดใต้รักแร้ผู้ป่วย อีกข้างหนึ่งจับปลายแขนหรือมือผู้ป่วยข้างเดิม ผู้ป่วยและพยาบาลทั้ง 2 คนเดินพร้อมกัน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว เมื่อช่วยผู้ป่วยลงจากเตียงแล้ว พยาบาล ยืนเยื้องด้านหลังผู้ป่วย ใช้มือ 2 ข้างยืดเข็มขัดหรือผ้าคาดเอวเพื่อพยุงผู้ป่วยขณะผู้ป่วยเดิน
กรณีไม่ใช้เข็มขัด ให้ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วย มือไกลตัว จับที่ปลายแขนของผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
Walker หรือ Pick – up frames
Cane มีหลายชนิด
Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ำยัน )
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามในการ รับน้ำหนักเต็มทั้งขา
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามหรือมี การอ่อนแรง
เพิ่มการพยุงตัว (Support)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกความแข็งแรง (Strength)
การฝึกในราวคู่ขนาน
การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright)
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status) ผู้ป่วยจะต้องลงน้ำหนักตามแผนการรักษา
รูปแบบการเดิน (Gait pattern)
Two – point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความก้าวหน้าขึ้นจาก Four – point gait
Three – point gait เป็นรูปแบบการเดินที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ของขา 1 ข้าง
Four – point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความมั่นคงมากที่สุด
Swing – to gait วิธีนี้เหมาะที่สุดสำหรับผู้ป่วยที่มีการจำกัดในการใช้ขาทั้ง 2 ข้าง
Swing – through gait เป็นรูปแบบการเดินที่ก้าวหน้ามาจาก Swing – to gait
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน มีวิธีการวัดขนาดและการสอนเดินโดย อุปกรณ์ช่วยการเดิน
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ โดยการสอบถามข้อมูลจากผู้ป่วยและญาติ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย ซึ่งระยะเวลาก่อนผ่าตัด
ด้านจิตใจ
การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
ด้านร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
การขับถ่าย ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็ก หรือการผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่อง ท้อง แพทย์อาจให้สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
อาหารและน้ำดื่ม ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัอย่างน้อย 8 ชั่วโมง สำหรับ อาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป