Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ —Pngtree—kiss valentines day…
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การตกขาวผิดปกติ
-
-
การตกขาวจากการติดเชื้อรา
อาการและอาการแสดง
-
-
มีอาการคันและระคายเคืองมากในช่องคลอดและปากช่องคลอด ปากช่องคลอดเป็นผื่นแดง ช่องคลอดอักเสบ และบวมแดงแต่ปากมดลูกปกติ ตกขาวมีลักษณะสีขาวขุ่น อยู่รวมกันเป็นกลุ่มเหมือนนมตกตะกอน(curd-liked discharge หรือ cottage-cheese vaginal discharge) ตกขาวนี้จะเกาะติดแน่นกับผนังช่องคลอด ไม่มีกลิ่น หรือมีกลิ่นอับ
-
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์ ทําให้อาการของการติดเชื้อราในช่องคลอดเป็นมากขึ้นเป็น 2 เท่า มีความระคายเคือง คันช่องคลอดมากขึ้น การติดเชื้อราในช่องคลอดทั้งแบบไม่มีอาการและมีอาการ ไม่มีผลเสียต่อการตั้งครรภ์
ทารก
ทารกที่คลอดทางช่องคลอดจากมารดาที่มีการติดเชื้อราในช่องคลอด จะเป็นเชื้อราในช่องปาก (oral thrush) ได้มากกว่าปกติ 2-35 เท่า
ปัจจัยและปัจจัยเสี่ยง
-
-
การรับประทานยาปฏิชีวนะเพื่อการรักษาบางชนิดอย่างต่อเนื่อง ทําให้มีการทําลายเชื้อแบคทีเรีย lactobacillus ที่มีหน้าที่ฆ่าเชื้อราในช่องคลอด
-
-
-
-
-
การวินิจฉัย
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจด้วยวิธีแกรมสเตน (gram stain) จะพบลักษณะเป็นเหมือนเส้นด้าย (gram positive pseudomycelial threads) และมีรูปร่างเหมือนยีสต์ (yeast-like form)
การตรวจด้วยวิธี wet mount smear จะพบเซลล์ของยีสต์ (yeast cell) และเส้นใยของเซลล์เชื้อรา (mycelium) pH น้อยกว่า 4.5
-
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
การทําความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก และการทําความสะอาดชุดชั้นในต้องซักให้สะอาดและตากแดดให้แห้งเสมอ ชุดชั้นในควรเป็นผ้าฝ้ายไม่ควรใช้ไนลอนเพราะจะทําให้อับชื้น
-
แนะนําการใช้ยาทา และยาเหน็บช่องคลอดตามแพทย์สั่ง โดยการเหน็บยาในช่องคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ และรักษาติดต่อกันจนยาหมด
-
ระยะหลังคลอด
เน้นการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาดและแห้งเสมอ ชุดชั้นในต้องสะอาดและแห้ง ไม่อับชื้น
-
-
ทารกแรกเกิดอาจมีการติดเชื้อในช่องปาก ซึ่งจะพบมีฝ้าขาวในช่องปาก ให้ปรึกษากุมารแพทย์เพื่อการดูแลทารกต่อไป
หนองใน (Gonorrhea)
ผลกระทบ
-
ทารก
หากทารกแรกเกิดกลืนหรือสําลักน้ําคร่ําที่มีเชื้อหนองในเข้าไปจะทําให้ช่องปากอักเสบ หูอักเสบ กระเพาะอาหารอักเสบได้
ทารกแรกเกิดที่คลอดปกติผ่านทางช่องคลอดมีการติดเชื้อหนองในที่ปากมดลูก ช่องคลอด หรืออวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก โดยเฉพาะบริเวณเยื่อเมือกที่ตาของทารก ทําให้เกิดตาอักเสบ (gonococcal ophalmia neonatorum)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายตรวจทางช่องคลอดจะพบหนองสีขาวขุ่น บางรายอาจพบเลือดปนหนอง หากมีการอักเสบมากขาหนีบจะบวม กดเจ็บบริเวณต่อมบาร์โธลิน หรือต่อมข้างท่อปัสสาวะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการตรวจขั้นต้นโดยการเก็บน้ําเหลืองหรือหนองจากส่วนที่มีการอักเสบมาย้อมสีตรวจ gram stain smear
-
อาการ
การอักเสบของปากมดลูกและช่องคลอดทําให้ตกขาวเป็นหนองข้นปริมาณมาก อาจพบอาการกดเจ็บบริเวณต่อมบาร์โธลิน (bartholin’s gland) หากมีการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะส่วนล่างจะพบอาการปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะกระปิดกระปรอย
พยาธิสภาพ
เมื่อเชื้อ Neiseria gonorrheaeเข้าสู่ร่างกาย จะเข้าไปเกาะติดกับเซลล์เยื่อบุและเซลล์ขับเมือก โดยจะพยายามผ่านเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเข้าไปเพิ่มจํานวนเซลล์ในชั้น subepithelial tissue จากนั้นเชื้อ Neiseria gonorrheaeจะทําปฏิกิริยากับภูมิต้านทานของร่างกาย ทําให้เกิดสารเคมีที่เป็นพิษต่อเซลล์และเนื้อเยื่อ ส่งผลให้เนื้อเยื่ออักเสบเป็นหนอง ซึ่งตําแหน่งที่มักพบการอักเสบคือ เยื่อเมือกบริเวณปากมดลูก ทวารหนัก
-
ซิฟิลิส (Syphilis)
อาการและอาการแสดง
secondary stage
ขณะที่แผลกําลังจะหาย หรือหลังจากแผลหายจะพบผื่นกระจายทั่วร่างกาย ฝ่ามือฝ่าเท้า เยื่อบุรวมทั้งอวัยวะสืบพันธุ์ โดยผื่นที่พบบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์จะยกนูน ร่วมกับมีอาการไข้ ต่อมน้ําเหลืองโต เจ็บคอ ผมร่วงเป็นหย่อมๆ ปวดศีรษะ น้ําหนักลด
-
primary stage
หลังจากได้รับเชื้อ 10-90 วัน หรือประมาณ 3 สัปดาห์ จะเกิดแผล กลม นิ่ม ขอบนูนแข็ง ไม่เจ็บ เรียว่าแผล chancre
tertiary syphilis
ระยะนี้เชื้อจะเข้าไปทําลายระบบหัวใจและหลอดเลือด ทําให้เกิด aortic aneurysm และ aortic insufficiency ถ้าเชื้อเข้าสู่ระบบประสาทจะเกิดผิวหนังอักเสบ กระดูกผุ เยื่อบุสมองอักเสบ และเสียชีวิตในที่สุด
ผลกระทบ
-
ทารก
-
-
-
ทารกตัวบวมน้ํา ตัวเหลือง เยื่อบุส่วนต่างๆของร่างกายเกิดการอักเสบ ผิวหนังที่ฝ่ามือฝ่าเท้าอักเสบและลอกเป็นขุย
-
-
พยาธิสรีรภาพ
ภายหลังได้รับเชื้อสู่ร่างกายทางผิวหนังที่เป็นแผลถลอก หรือทางเยื่อบุต่างๆของร่างกาย ประมาณ 10-14 วัน ร่างกายจะสร้างantibody ต่อเชื้อชนิด IgM และ IgG ขึ้นมา ขณะที่ร่างกายกําลังสร้างantibodyเชื้อจะแบ่งตัวทําให้บริเวณผิวหนังหรือบริเวณเนื้อเยื่อที่เชื้อผ่านเข้าไปจะเกิดการระคายเคือง เกิดปฏิกิริยา lymphocyte และ plasma cell reaction มาล้อมรอบเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบทําให้ผนังหลอดเลือดหนาตัวและบวม เชื้อจะแทรกเข้าไปอยู่ระหว่างผนังหลอดเลือดและทําให้หลอดเลือดอุดตัน ส่งผลให้เนื้อเยื่อที่มีการอักเสบมีเลือดมาเลี้ยงลดลง เกิดการขาดเลือดกลายเป็นเนื้อตาย และกลายเป็นแผลที่มีลักษณะเป็นตุ่มแข็ง กดไม่เจ็บ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายกรณีที่มีอาการและอาการแสดงอาจตรวจพบไข้ต่ํา ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว ตรวจอวัยวะสืบพันธ์ภายนอกพบแผลที่มีลักษณะขอบแข็ง กดไม่เจ็บ อาจพบผื่นบริเวณฝ่ามือฝ่าเท้า ต่อมน้ําเหลือที่ขาหนีบโตแต่กดไม่เจ็บ มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร และน้ําหนักลด หรือบางรายอาจไม่พบอาการแสดงใด ๆ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ไม่มีแผลหรือผื่น
การตรวจหา antibody เพื่อยืนยันการติดเชื้อซิฟิลิส ที่จําเพาะต่อเชื้อ Treponema pallium โดยตรง (treponema test) ได้แก่ Chemiluminessence microparticle immunoassay (CMIA), enzyme immunoassay (EIA), Immuno Chromatographic Strip (ICS)
การคัดกรองส่วนใหญ่นิยมใช้การตรวจด้วยวิธี VDRL เนื่องจากเป็นวิธีที่ให้ผลเร็ว ใช้คัดกรองในสตรีตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก
การตรวจหา antibody ที่ไม่จําเพาะต่อเชื้อ (nontreponemal test) ได้แก่การตรวจ Rapid plasma Reagin (RPR), Venereal Disease Research Laboratory (VDRL) test
-
การซักประวัติประวัติเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อซิฟิลิส หรือมีประวัติเคยป่วยด้วยโรคซิฟิลิสมาก่อน
-
-
-