Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ, ดาวน์โหลด2, ดาวน์โหลด (5), ดาวน์โหลด (6) - Coggle…
การประเมินภาวะสุขภาพ
ความสำคัญ
ทำให้เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลถูกต้อง
นำไปสู่การวินิจฉัยทางการพยาบาลได้อย่างครอบคลุมถูกต้อง
เป็นกระบวนการที่เกิดต่อเนื่องและเป็นระบบ ทำให้ได้ข้อมูลสมบูรณ์ ครอบคลุมองค์รวม
นำไปสู่การวางแผนการพยาบาลที่สอดคล้องกับปัญหาหรือความต้องการของผู้รับบริการ
เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการพยาบาลที่สำคัญมาก
ประเภทของการประเมินภาวะสุขภาพ
เน้นเฉพาะอาการ
เป็นการชักประวติและการตรวจร่างกายเน้นเฉพาะปัญหาที่เกิดขึ้น มักประเมินในคลินิกสุขภาพ ER OPD
เช่น ผู้ป่วยมาด้วยอาการปวดท้องกระทันหัน
ติดตามการรักษา
ประเมินเพื่อติดตามผลการรักาาที่ผ่านมา
เช่น การประเมินระดับน้ำตาลในเลือดของผู้รับ บริการโรคเบาหวานหลังได้รับยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
แบบเบ็ดเสร็จ
เป็นการชักประวัติและตรวจร่างกายอย่างสมบูรณ์
ตั้งแต่รับผู้บริการเข้ามารับการรักษาตัว การประเมินปัญหาที่เกิดขึ้น การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ปัจจัยเสี่ยงหรือปัญหาที่ตามมา
เพื่อคัดกรองสุขภาพ
ปฏิบัติในช่วเวลาสั้นๆและไม่เสียค่าใช้จ่ายมาก
เช่น การตรวจวัดBP ระดับน้ำตาลในเลือด ไขมันในเลือดทการตวจปัสสาวะ เป็นต้น
กรอบแนวคิดการประเมินภาวะสุขภาพ
ทฤษฎีทางการพยาบาล
ทฤษฎีที่นำมาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางการประเมินภาวะสุขภาพ
เช่น ทฤษฎีการดูแลตนเองโอเร็ม ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
องค์ความรู้ที่ใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติทางการพยาบาล
แบบแผนสุขภาพ
แบบแผนพฤติกรรมทางสุขภาพของผู้รับบริการที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง
ประกอบด้วย 11 แบบแผน
แบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร
แบบแผนการขับถ่าย
แบบผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
แบบแผนการนอนหลับ
แบบแผนสติปัญญาการรับรู้
แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนทางเพศและการเจริญพันธุ์
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญความเครียด
แบบแผนค่านิยมและความเชื่อ
ของกอร์ดอน
แนวคิดทฤษฎีหรือโมเดล
ข้อความที่แสดงความสัมพันธ์กัน อธิบาย อปก.เกี่ยวข้องกับพยาบาล
ผู้รับบริการปฏิสัมพันธ์ของพยาบาลกับผู้รับบริการสุขภาพ
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การตรวจสอบความเที่ยงตรงของข้อมูล
หลายวิธี
เช่น การประเมินซ้ำหากข้อมูลที่ได้มายังไม่แน่ใจหรือคลุมเครือ การปรึกษาเพื่อนร่วมงานเพื่อช่วยประเมินซ้ำ
เช่น การฟังเสียงหัวใจที่ผิดปกติ หากไม่มั่นใจอาจปรึกษาแพทย์ให้ช่วยฟังซ้ำ
การซักประวัติสุขภาพ
ประเภทของการสื่อสารที่ใช้ในการซักประวัติ
วัจนภาษา
ใช้ถ้อยคำในการสื่อสาร
อวัจนภาษา
ไม่ใช้ถ้อยคำในการสื่อสาร
ชนิดของคำถามในการซักประวัติ
คำถามปลายเปิด
ตอบได้มากกว่า1 คำตอบ
เช่น วันนี้คุณรู้สึกอย่างไรบ้าง
คำถามปลายปิด
ตอบสั้นๆ เพียง 1-2 คำ
เช่น เคยกับไม่เคย
ขั้นตอนการซักประวัติสุขภาพ
ขั้นขณะซักประวัติ
ผู้ซักต้องทบทวนข้อมูลที่ผู้รับบริการกล่าวถึง ค้นหาสาเหตุของการมารับการรักษา พยาบาลต้องตั้งใจฟังและสังเกตอาการแสดงออกในขณะสัมภาษณ์ มีความไวต่อความรู้สึกของผู้รับบริการ
ขั้นสรุปผลและยุติ
หลังจากซักประวัติจะมีการสรุปผลข้อมูลและตรวจสอบความเที่ยงตรงของข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ สาเหตุและเป้าหมายการพยาบาล ก่อนยุติการซักประวัติ
ขั้นก่อนการซักประวัติ
พยาบาลต้องศึกาาข้อมูลลเบื้องต้นของผู้รับบริการจากแฟ้มประวัติก่อนซักถามประวัติเพิ่มเติม
เทคนิคที่ใช้ในการซักประวัติสุขภาพ
การฟังอย่างตั้งใจ
การเงียบ
การกล่าวย้ำ
การส่งเสริม
การทำให้กระจ่าง
การสะท้อนกลับ
การเผชิญหน้า
การให้ความมั่นใจ
การแปลความหมาย
การคาดคะเน
การสรุปความ
การซักประวัติอย่างสมบูรณ์
อาการสำคัญ
อารการต้องมีประมาณ 1-2 วัน + ระยะเวลา เช่น มีไข้หนาวสั่น 2 วันปวดื้แงและอาเจียน 4 hr.
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
รายละเอียดตามลำดับตั้งแต่เริ่มมีอาการ อาการแสดง สาเหตุ ไปจนถึงการจัดการปัญหา
ลักษณะต่างๆของอาการ
เวลาเริ่มต้นที่ทำให้มีอาการ
ตำแหน่งที่เกิดอาการ
ช่งระยะเวลาของอาการแสดงเป็นอยู่นานเท่าไหร่
ความรุนแรงของอาการ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับการเจ็บป่วย
ข้อมูลประวัติส่วนบุคคล
ชื่อ-สกุล วันเดือนปีเกิด เพศ อายุ การศึกษา เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา อาชีพ ตำแหน่ง สถานภาพการสมรส เป็นต้น
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
การเจ็บป่วยที่ผ่านมา การตรวจการรักษาที่เคยได้รับตั้งแต่เกิดจนถึงครั้งสุดท้ายก่อนการเจ็บป่วยในครั้งนี้
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลอัตนัย (subjective data)
ข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึกหรืออาการที่ผู้รับบริการบอกกล่าว
เช่น ผู้รับบริการบอกว่า นอนไม่หลับและตื่นตอนกลางคืนมา 5 วัน
ข้อมูลปรนัย (objective)
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตโดยตรง โดยอ้อม การตรวจลักษณะทั่วไป
เช่น การนับจำนวนเกล็ดเลือด