Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลัง…
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
5.1 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
5.1.1 การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
5.1.1.2 การตรวจร่างกาย
2) การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3) การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
1) สัญญาณชีพ
4) การตรวจร่างกายตามระบบ โดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
5.1.1.3 การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
5.1.1.1 การซักประวัติ
5.1.2 การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
5.1.2.1 การเตรียมผู้ป่วย ซึ่งระยะเวลาก่อนผ่าตัด
1) ด้านร่างกาย
2) ด้านจิตใจ
3) การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
(4)Range of Motion (ROM)
(5)Deep-breathing exercises
(6)Effective cough
(7) Abdominal breathing
(3)Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
(8)Turning and ambulation ควรท าทุก 2 ช.ม.
(2)Quadriceps Setting Exercise (QSE)
(9)Extremity exercise
(1)Early ambulation
(10) Pain management
5.1.2.2 การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
5) การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด แพทย์มักจะให้ยาในคืนวันก่อนผ่าตัดเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลและนอนหลับพักผ่อนได้ดี
6) เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ เช่น สายใส่จมูกถึงกระเพาะอาหาร
4) การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป เช่น (1) ในคืนก่อนวันผ่าตัด ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดปาก ฟัน
7) แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย เพื่อส่งเข้าห้องผ่าตัด
3) การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด ต้องมีการเตรียมความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
8) การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
2) การขับถ่าย ถ้าเป็นการผ่าตัดใหญ่หรือผ่าตัดเปิดสู่ช่องท้องแพทย์จะให้มีการสวนอุจจาระก่อนผ่าตัด
9) การดูแลครอบครัวผู้ป่วย
1) อาหารและน้ำดื่ม ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
10) การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
5.2 การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
5.2.1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
5.2.1.1 แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
5.2.1.2 แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
5.2.1.3 แบบแผนการขับถ่าย
5.2.1.4 แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
5.2.1.5 แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
5.2.2 กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
5.2.2.1 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง และคงไว้ซึ่งการทำงานระบบหายใจภายหลังการผ่าตัดระยะแรก
5.2.2.2 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการท างานของระบบหัวใจและไหลเวียน ปัญหาด้านระบบไหลเวียนที่พบบ่อยหลังผ่าตัด ได้แก่ การเกิดความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตต่ า และภาวะหัวใจเต้น
ผิดปกต
5.2.2.3 การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด โดยพยาบาลประเมินความเจ็บปวดของผู้ป่วยโดยใช้ Pain scale
5.2.2.4 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ปุวย เพื่อลดอาการท้องอืด แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน และส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีหลังผ่าตัด
5.2.2.5 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
5.2.2.6 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
5.2.2.7 การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
5.3 การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
5.3.1 การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
5.3.1.1 การประเมินผู้ปุวย พยาบาลจะให้การช่วยเหลือผู้ป่วยนั้นควรทราบข้อมูลต่างๆของผู้ป่วย
5.3.1.2 ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
5.3.2 การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
5.3.2.1 หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
7) หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
8) ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
6) ย่อเข่าและสะโพก
9) ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
5) หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
10) ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแทนการเลื่อนผู้ป่วย
4) ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร และเฉียงปลายเท้าไปตามทิศทางที่ต้องการเคลื่อนย้าย และอยู่ในสมดุลเมื่อต้องการเคลื่อนไปทางหัวเตียงหรือปลายเตียง
11) ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
3) ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
12) ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปและให้สัญญาณขณะยก หรือใช้อุปกรณ์ที่ช่วยผ่อนแรงมาใช้เมื่อจำเป็น
2) หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
1) ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
5.3.2.2 การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
4) ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
5) ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
3) ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
6) ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
2) ท่าที่เป็นข้อห้ามของผู้ป่วย
7) ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
1) ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
5.3.2.3 วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
2) นำหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นเอาออกจากเตียง
3) พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหวร่างกาย
1) แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
4) พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง โดยใช้วิธีสอดมือเข้าไปในตำแหน่งของร่างกายที่จะยกเพื่อรองรับน้ำหนักร่างกายส่วนนั้น
5.3.3 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
5.3.3.1 การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
4) เหยียดข้อเข่า เหยียดขาพร้อมกับกดข้อเข่าลงกับที่นอน และยกส้นเท้าขึ้น
จากเตียงสูงเท่าที่จะทำได้ สลับทำกับขาอีกข้างหนึ่ง
5) งอข้อเท้า หมุนข้อเท้าเข้าหาตัวและออกจากตัว โดยวิธีหมุนข้อเท้าเป็น
วงรอบตามเข็มนาฬิกาและหมุนทวนเข็มนาฬิกา
3) กางและหุบข้อตะโพก เหยียดข้อเข่าและให้ข้อเท้างอเข้าหาปลายขา
6) งอและเหยียดนิ้วเท้า
2) หมุนข้อตะโพก เหยียดขาทั้งสองข้าง
7) เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพกต้นขา
1) ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
5.3.3.2 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
1) การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
(1)กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว เมื่อช่วยผู้ป่วยลงจากเตียงแล้ว พยาบาล
ยืนเยื้องด้านหลังผู้ป่วย ใช้มือ 2 ข้างยืดเข็มขัดหรือผ้าคาดเอวเพื่อพยุงผู้ป่วยขณะผู้ป่วยเดิน
(2)กรณีไม่ใช้เข็มขัด ให้ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ปุวย มือไกลตัว
จับที่ปลายแขนของผู้ป่วย
2) การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน
ให้พยาบาลยืนข้างผู้ป่วยคนละด้าน มือพยาบาลข้างใกล้ตัวผู้ป่วยสอดใต้รักแร้ผู้ป่วย อีกข้างหนึ่งจับปลายแขนหรือมือผู้ป่วยข้างเดิมผู้ป่วยและพยาบาลทั้ง 2 คนเดินพร้อมกัน
5.3.4 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
5.3.4.1 ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
1) Parallel bar = ราวคู่ขนาน
2) Walker หรือ Pick – up frames
3) Cane
4) Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ำยัน )
5.3.4.2 ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
1) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามในการ
รับน้ำหนักเต็มทั้งขา
2) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามหรือมี
การอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้ำหนักได้
3) เพิ่มการพยุงตัว (Support) เพื่อให้สามารถทรงตัวได้ (Balance)
5.3.4.3 การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
1) การฝึกความแข็งแรง (Strength) ความทนทาน (Endurance) และการ
ประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ (Co – ordination) ที่ใช้ในการเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
2) การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright) บนเตียงหรือเบาะ เช่น การฝึกการทรงตัวในท่านั่ง
3) การฝึกในราวคู่ขนาน เช่น ฝึกยืน ฝึกทรงตัว ฝึกท่าทางการเดิน
5.3.4.4 การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status)
5.3.4.5 รูปแบบการเดิน (Gait pattern)
3) Three – point gait
4) Swing – to gait
2) Two – point gait
5) Swing – through gait
1) Four – point gait
5.3.4.6 วิธีการฝึกผู้ปุวยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
1) ไม้ค้ำยันรักแร้(Auxiliary crutches) เป็นอุปกรณ์ช่วยเดินที่ควรใช้เป็นคู่
เนื่องจากมีจุดยึดตอนบนอยู่ที่รักแร้ จึงช่วยพยุงตัวได้ดีและแบ่งรับน้ำหนักได้ถึง 80% ของน้ำหนักตัว
2) Lofstrand crutch ประกอบด้วยแกนอลูมิเนียม และมีด้ามมือจับ รวมทั้ง
ห่วงคล้องรอบช่วงต้นของท่อนแขนส่วนปลายซึ่งจะช่วยเพิ่มความมั่นคงของท่อนแขนส่วนปลายเวลายัน
ลงน้ำหนัก
3) Platform crutch ประกอบด้วยแกนอลูมิเนียม ยาวขึ้นจนถึงระดับข้อศอก
และมีแผ่นรองรับท่อนแขนส่วนปลายรวมทั้งมีมือจับ (Vertical hand grip) บริเวณส่วนปลายของแผ่น
รองรับท่อนแขน และมีVelcro strap รัดรอบท่อนแขนเพื่อยึดติดกับ Crutch
4) ไม้เท้า (Cane) เป็นอุปกรณ์ช่วยเดินที่ใช้เพียงข้างเดียวเป็นส่วนใหญ่ มีทั้ง
ชนิดขาเดียว และสามขา ให้ความมั่นคงไม่มาก และลดการลงน้ าหนักเฉพาะขาข้างใดข้างหนึ่งได้เพียง 20– 25 % จึงใช้ กรณีต้องการช่วยพยุงน้ าหนักบางส่วนหรือลดความเจ็บปวด
5) ไม้เท้า 3 ขา (Tripod cane) มีฐานกว้าง และมีจุดยันรับน้ำหนักที่พื้น 3 จุด ทำให้มั่นคงกว่าไม้เท้าขาเดียว แต่มีข้อเสีย ถ้าผู้ป่วยไม่ยันลงน้้ำหนักลงแกนกลางของไม้ ก็ทำให้เสียความมั่นคง นอกจากนี้ก็ไม่สามารถใช้เดินขึ้น – ลงบันไดได้
6) Walker จะให้Support มากที่สุดในช่วงการเดินเมื่อเทียบกับ Cane และ
Crutches จึงช่วยเพิ่มความมั่นคงขณะเดินได้มากที่สุด และใช้เพื่อลดการลงน้ าหนักที่ขาข้างใดข้างหนึ่งได้
ดี ข้อเสียคือ เทอะทะและเดินได้ช้า จ ากัดการใช้เฉพาะในบ้านและไม่สามารถใช้เดินขึ้นลงบันไดได้
5.4 การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
5.4.1 การออกกำลังกาย
5.4.1.1 การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)
5.4.1.2 การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise)ป็นการออก
กำลังกายโดยการเคลื่อนไหวข้อต่างๆให้กับผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายด้วยตนเองได้หรือมี
ข้อจำกัดในการเคลื่อนไหว
5.4.1.3 การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น
5.4.1.4 การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน
5.4.1.5 การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น
5.4.2 การเคลื่อนไหวร่างกาย ทำให้เกิดผลดี ดังนี้
5.4.2.2 ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
5.4.2.3 ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
5.4.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการท างานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
5.4.3 ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
5.4.3.1 ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
5.4.3.2 ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ 1) กระดูกผุ เปราะบาง 2) กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก
5.4.3.3 ระบบหัวใจและหลอดเลือด 1) หัวใจทำงานมากขึ้น 2) มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
5.4.3.4 ระบบทางเดินหายใจ1) ปอดขยายตัวลดลง2) มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
5.4.3.5 ระบบทางเดินอาหาร1) มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทำให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
5.4.3.6 ระบบทางเดินปัสสาวะ 1.Diuresis
5.4.3.7 ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร1) การเผาผลาญอาหารลดลง2) Hypoproteinemia
5.5 กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
5.5.3 การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
5.5.3.3 ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
5.5.3.4 ดูแลความสุขสบายทั่วไป
5.5.3.2 เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
5.5.3.5 จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก
5.5.3.1 ประเมินระดับความวิตกกังวล
5.5.3.6 รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
5.5.2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
5.5.2.1 วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
5.5.2.2 วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
5.5.1 การประเมินสภาพผู้ป่วยรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล