Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย,…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
ประวัติโรคประจำตัว ควรครอบคลมุถึงอาการ
ประวัติการผ่าตัด และการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆของร่างกาย
การตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
การตรวจร่างกายตามระบบ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Complete blood count
ภาวะซีด เลือดออกผิดปกติ สำคัญทุกเคส
Urinalysis
Screening test สำหรับโรคไต การตรวจปัสสาวะ
Electrolytes
โรคไต โรคเบาหวาน ภาวะพร่องน้ำ
BUN/Creatinine
โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
Blood sugar
โรคเบาหวาน ตรวจน้ำตาล
Liver function tests
ถุงน้ำดี ภาวะเลือดออกผิดปกติ ภาวะขาดสารอาหาร
Coagulogram
ได้รับยาป้องกันเลือดแข็งเป็นลิ่ม การแข็งตัวของเลือด
Chest X-ray
โรคหัวใจ โรคปอด โรคมะเร็ง สูบบุหรี่ ไอเรื้อรัง
ECG
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ด้านร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
ภาวะสารน้ำและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
การพักผ่อนและการออกกำลังกาย
ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ
ด้านจิตใจ
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด ควรได้รับการเตรียมทางจิตใจทุกคน โดย การเยี่ยมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
Early ambulation ยกเว้นมีข้อห้ามหรือการผ่าตัดบางอย่างที่ต้องให้
Quadriceps Setting Exercise (QSE) เป็นการออกกำลังกายกล้ามเนื้อ ต้นขา (Quadriceps muscle)
Straight Leg Raising Exercise (SLRE) เป็นการออกกำลังขา ข้อสะโพก และกล้ามเนื้อต้นขาแบบยกขาขึ้นตรงๆ
Range of Motion (ROM) เป็นการออกกำลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหวใน ทุกทิศทางปกติของข้อต่าง ๆ
Deep-breathing exercises โดยจัดผู้ปุวยให้อยู่ในท่านอนหงายศีรษะ สูง วางมือทั้ง 2 ข้างบนหน้าอกส่วนล่าง แล้วให้กำมือหลวมๆ ให้นิ้วมือสัมผัสกับหน้าอก
Effective cough โดย จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย ให้ผู้ปุวยประสานมือทั้ง 2 ข้าง และกดเบาๆ
Abdominal breathing ในบางรายที่มีอาการปวดแผลหรือรับการผ่าตัด บริเวณทรวงอก
Turning and ambulation ควรทำทุก 2 ช.ม.
Extremity exercise ให้ผู้ปุวยนอนในท่าหัวสูงเล็กน้อยหรือนอนในท่าที่ สบาย
Pain management หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะได้รับการระงับความเจ็บปวด ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งได้แก่ การได้รับยาแก้ปวดทางหลอดเลือดดำ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
อาหารและน้ำดื่ม ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
การขับถ่าย ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็ก ให้รับประทานยาระบายก่อนวันผ่าตัด
ถ้าเป็นการผ่าตัดใหญ่ แพทย์จะให้มีการสวนอจุจาระ ก่อนผ่าตัด
บริเวณศีรษะ โกนผมบริเวณศีรษะออก เช็ดใบหู และทำความสะอาดช่องหู
บริเวณหูและปุุมกระดูกมาสตอยด์ ให้ เตรียมบริเวณกว้างเป็นวงรอบออกไป จากหูประมาณ 1 – 2 นิ้ว โกนขนอ่อน ที่ใบหูด้วย
บริเวณคอ เช่น ผ่าตัดต่อมไทรอยด์ เป็นต้น เตรียมบริเวณจากใต้คางลงมาถึง ระดับราวหัวนม และจากหัวไหล่ข้างขวาถึงข้างซ้าย
บริเวณทรวงอก เช่น ผ่าตัดเต้านม เป็นต้น เตรียมด้านหน้าจากคอตอนบน จนถึงระดับสะดือจากแนวยาวของหัวนมข้างที่ไม่ได้ท าผ่าตัดไปจนถึงกึ่งกลางหลังของข้างที่ทำและขน อ่อนของต้นแขนจนถึงต่ำกว่าข้อศอก 1 นิ้ว
บริเวณช่องท้อง เช่น ผ่าตัดท่อน้ำดี ถุงน้ำดี กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ ใหญ่ ผ่าตัดคลอดเด็กทางหน้าท้อง (C/S) เป็นต้น เตรียมตั้งแต่ระดับรักแร้ลงมาถึงฝีเย็บ
บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ เช่น ไส้ติ่ง ไส้เลื่อน เป็นต้น เตรียมบริเวณตั้งแต่ ระดับราวนมลงมาถึงต้นขา รวมทั้งบริเวณฝีเย็บด้วย
ไต เตรียมด้านหน้าจากบริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และต้นขา ทั้ง 2 ข้าง ด้านข้างจากรักแร้ถึงตะโพก
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก เช่น ทวารหนัก ช่องคลอด ต่อม ลูกหมาก เป็นต้น เตรียมตั้งแต่ระดับสะดือ ลงมาถึงฝีเย็บ และด้านในของต้นขาและก้น
1 more item...
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การจัดท่านอน ให้นอนราบไม่หนุนหมอน
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ปุวยหายใจเข้าออกลึกๆ
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์และให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
ตรวจวัดสัญญาณชีพทึก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 4 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ เลือด หรือพลาสมาทดแทนทางหลอดเลือดดำ ตามแผนการรักษา
ควรให้ผู้ปุวยนอนพักนิ่งๆ ในบริเวณที่มีเลือดออกมากๆ
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จ าเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจ
ดูแลให้ผู้ปุวยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise)
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise)
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
การออกกำลังกายให้ผู้ปุวยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ปูองกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
เกิดแรงกดทับ (Pressure)
เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
การเสียดทาน (Friction)
แรงดึงรั้ง (Shearing force)
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
อาการปวดหลัง (Back pain)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานมากขึ้น
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ (Thrombus)
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension)
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion)
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทำให้เบื่ออาหาร
มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก(Constipation)
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
1 more item...
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
1 more item...
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล จะสอดคล้องกับข้อมูลสนับสนุนที่รวบรวมได้จากการ ประเมินสภาพผู้ป่วย
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ปุวยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก
1 more item...