Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
ตรวจร่างกายตามระบบ เน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่ จะทําการผ่าตัด
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
สัญญาณชีพ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อบ่งชี้ของการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆ
ชนิดการตรวจ Complete blood count
ข้อบ่งชี้ภาวะซีด เลือดออกผิดปกติ Chronic blood loss โรคไต โรคมะเร็ง
ชนิดการตรวจUrinalysis
ข้อบ่งชี้Screening test สําหรับโรคไต การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ชนิดการตรวจElectrolytes
ข้อบ่งชี้โรคไต โรคเบาหวาน ภาวะพร่องน้ำ ได้รับยาขับปัสสาวะ digoxin steroids
ชนิดการตรวจBUN/Creatinine ข้อบ่งชี้ โรคไต โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ภาวะพร่องน้ำ
ชนิดการตรวจBlood sugar
ข้อบ่งชี้ โรคเบาหวาน ใช้ยากลุ่ม steroids
ชนิดการตรวจLiver function tests
ข้อบ่งชี้ โรคตับ ถุงน้ำดี ภาวะเลือดออกผิดปกติ ภาวะขาดสารอาหาร โรคพิษสุราเรื้อรังได้รับยาเคมีบําบัด
ชนิดการตรวจChest X-ray
ข้อบ่งชี้ โรคหัวใจ โรคปอด โรคมะเร็ง สูบบุหรี่ ไอเรื้อรัง มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยวัณโรค
ชนิดการตรวจCoagulogram
ข้อบ่งชี้ โรคตับ เลือดออกผิดปกติ ได้รับยาป้องกันเลือดแข็งเป็นลิ่ม (Anticoagulants)
ชนิดการตรวจECG ข้อบ่งชี้โรคหัวใจ โรคปอด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
ข้อแนะนําการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Screening tests)
การซักประวัติ โดยการสอบถามข้อมูลจากผู้ป่วยและญาติ
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติการผ่าตัด การได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้ ครอบคลุม ถึงวิธีการให้ยาระงับความรู้สึก และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
ประวัติคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับความรู้สึก ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติโรคประจําตัว ควรครอบคลุมถึงอาการ ความรุนแรง ภาวะแทรกซ้อน และประวัติการรักษา ยาที่ใช้ประจํา
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
ภาวะสารน้ําและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การพักผ่อนและการออกกําลังกาย
ให้คําแนะนําและข้อมูลต่างๆ
ด้านจิตใจ
ควรได้รับการเตรียมทางจิตใจทุกคน
ประเมินความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด
พยาบาลควรให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลจริง
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความรู้สึกที่กังวลออกมา
การให้คําแนะนําการปฏิบัติหลังผ่าตัด
Straight Leg Raising Exercise (SLRE) ออกกําลังขา ข้อสะโพก และกล้ามเนื้อต้นขา
Range of Motion (ROM) ออกกําลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหวใน ทุกทิศทางปกติของข้อต่าง ๆ
Deep-breathing exercises โดยจัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงายศีรษะสูง
Quadriceps Setting Exercise (QSE) เป็นการออกกําลังกายกล้ามเนื้อ ต้นขา
Effective Cough จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย
Abdominal breathing การหายใจเข้าออกโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องแทนทรวงอก
Early ambulation การลุกเร็ว,การให้ผู้ป่วยลุกจากเตียงโดยเร็ว
Turning and ambulation ควรทําทุก 2 ช.ม. เช่น พลิกตัวไปทางขวา ให้ขยับตัวไปทางซ้าย
Extremity exercise ให้ผู้ป่วยนอนในท่าหัวสูงเล็กน้อยหรือนอนในท่าที่ สบาย
Pain management หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะได้รับการระงับความเจ็บปวด ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
การขับถ่าย ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็ก หรือการผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่อง ท้อง แพทย์อาจให้สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนักเตรียมตั้งแต่ระดับสะดือ ลงมาถึงฝีเย็บ และด้านในของต้นขาและก้น
แขน ข้อศอก และมือ เตรียมบริเวณแขนข้างที่จะทําผ่าตัดทั้งด้านหน้าและ ด้านหลัง จากหัวไหล่ถึงปลายนิ้วมือ
ไต เตรียมด้านหน้าจากบริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และต้นขา ทั้ง 2 ข้าง
ตะโพกและต้นขา เตรียมบริเวณระดับเอวลงมาถึงระดับต่ำกว่าหัวเข่าข้างที่จะทํา 6 นิ้ว รวมทั้งเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกด้วย
บริเวณท้องต่ํากว่าสะดือ เตรียมบริเวณตั้งแต่ ระดับราวนมลงมาถึงต้นขา รวมทั้งบริเวณฝีเย็บด้วย
การทํา Skin graft ทําความสะอาดผิวหนังทั้งบริเวณ Donor site และ Recipient site ให้กว้าง
บริเวณช่องท้อง เตรียมตั้งแต่ระดับรักแร้ลงมาถึงฝีเย็บ
หัวเข่า เตรียมจากขาหนีบถึงข้อเท้าข้างที่จะทําผ่าตัดโดยรอบ
บริเวณทรวงอก เตรียมด้านหน้าจากคอตอนบน จนถึงระดับสะดือจากแนวยาวของหัวนมข้างที่ไม่ได้ทําผ่าตัดไปจนถึงกึ่งกลางหลังของข้างที่ทํา
เท้า เตรียมจากใต้หัวเข่าลงไปถึงเท้าข้างที่จะทําผ่าตัด ตัดเล็บเท้าให้สั้นและ ทําความสะอาดเล็บด้วย
บริเวณคอเตรียมบริเวณจากใต้คางลงมาถึง ระดับราวหัวนม และจากหัวไหล่ข้างขวาถึงข้างซ้าย
ขั้นตอนการเตรียมผิวหนัง
โกนขน หรือผม ถ้าขนหรือผมนั้นยาวใช้กรรไกรตัดให้สั้นก่อน ใช้ก้อสชุบสบู่ หรือ Hibiscrub ชโลมให้ทั่วเพื่อทําให้ขนหรือผมบริเวณนั้น
เมื่อโกนเสร็จใช้สบู่และน้ําล้างบริเวณนั้นให้สะอาด เช็ดให้แห้งด้วยผ้าสะอาด
ถ้าบริเวณที่เตรียมสกปรกมาก ให้เช็ดด้วยเบนซินแล้วฟอกด้วยสบู่ ถ้าไม่ สกปรกให้ฟอกด้วยน้ําสบู่ธรรมดา
เก็บผมหรือขน ใบมีดโกนที่ใช้แล้วห่อใส่กระดาษให้เรียบร้อย
บอกให้ผู้ป่วยทราบ กั้นม่าน ดูให้มีแสงสว่างเพียงพอ
การเตรียมเฉพาะที่อื่นๆ ได้แก่ บริเวณช่องคลอด
เตรียมเครื่องใช้
ปูผ้ายางรองกันเปื้อนบริเวณที่จะเตรียมผ่าตัด
บริเวณหูและปุ่มกระดูกมาสตอยด์ เตรียมบริเวณกว้างเป็นวงรอบออกไป จากหูประมาณ 1 - 2 นิ้ว โกนขนอ่อน ที่ใบหูด้วย
บริเวณศีรษะ โกนผมบริเวณศีรษะออกทำความสะอาดทั่วศรีษะ
ปลายขา เตรียมจากเหนือหัวเข่า ประมาณ 8 นิ้ว ลงมาถึงเท้าข้างที่จะผ่าตัด ตัดเล็บเท้าให้สั้น และทําความสะอาดเล็บด้วย
อาหารและน้ำดื่ม ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน ในรายที่ต้องผ่าตัดฉุกเฉินจากสาเหตุใดก็ตาม
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นใบยินยอมผ่าตัด
ถ้าผู้ป่วยไม่มีญาติมาด้วย พยาบาลต้องถามหรือหาที่อยู่ของครอบครัว
ทําความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดให้เรียบร้อย ถอดฟัน ปลอม อวัยวะปลอมต่างๆ ของมีค่า เครื่องประดับ สื่อไฟฟ้าออก ล้างสีเล็บออกให้หมด
วัดและบันทึกอาการ สัญญาณชีพ รวมทั้งการให้ยาก่อนผ่าตัด ลงในใบแบบฟอร์มก่อนผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้ เพื่อตรวจปัสสาวะ และให้ กระเพาะปัสสาวะว่าง
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป อาการ และ สัญญาณชีพ ถ้าผิดปกติให้รีบรายงาน แพทย์ทราบ
เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจ CBC และ Blood group ทันที
การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด ให้ผู้ป่วยนอนบนรถนอน (Stretcher) ห่มผ้าให้ เรียบร้อย ยกไม้กั้นเตียงขึ้น
การดูแลครอบครัวผู้ป่วย พยาบาลต้องแจ้งให้ครอบครัวทราบถึงเวลาที่ผู้ป่วยจะ เข้าห้องผ่าตัด ควรให้ญาติมาดูแล
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
สื่อไฟฟ้าต่างๆ เช่น กิ้บที่ทําด้วยโลหะ ที่คาดผมที่ทําด้วยโลหะ เป็นต้น ให้ ถอดออก
ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้า ทาปาก ทาเล็บ เพราะบริเวณเหล่านี้จะเป็นที่สังเกต อาการเขียวคล้ํา ซึ่งเป็นอาการแสดงแรกเริ่มของการขาดออกซิเจน
ของปลอม ของมีค่าต่างๆ ถอดเก็บไว้ให้ญาติดูแลรักษา
ให้ผู้ป่วยทําความสะอาดปาก ฟัน ถ้ามีฟันปลอมให้ถอดฟันปลอมออก
ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทําความสะอาดร่างกาย เปลี่ยนชุดสําหรับใส่เพื่อผ่าตัด
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย ความกลัวการผ่าตัด
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป วัดและบันทึกสัญญาณชีพ อในใบแบบฟอร์มผ่าตัด และใบแบบฟอร์มบันทึกทางการพยาบาล ถ้าผิดปกติ ให้รีบรายงานแพทย์ทราบ
แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย เพื่อส่งเข้า ห้องผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ เช่น สายใส่จมูกถึงกระเพาะอาหาร ชุดให้ สารน้ำทางหลอดเลือดดํา
การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด แพทย์มักจะให้ยาในคืนวันก่อนผ่าตัดเพื่อช่วยให้ ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลและนอนหลับพักผ่อนได้ดี
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนการขับถ่าย
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
การทํางานของไต เช่น การประเมินภาวะไม่สมดุลสารน้ำและเกลือแร่
ประวัติการเสียเลือดการขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลัง ผ่าตัด
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด ประเมินการรับรู้
แบบแผนกิจกรรมและการออกกําลังกาย
การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ ซึ่งบ่งบอกการทํางานของหัวใจและหลอดเลือด
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่งคงไว้ซึ่งการทํางานระบบหายใจ
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ
การจัดท่านอน
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
กระตุ้นให้ทํากิจวัตรประจําวันด้วยตนเองเพื่อเพิ่มกิจกรรมการเคลื่อนไหว
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์และให้ออกซิเจนตามแผนการ รักษา
สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทํางานของระบบหัวใจ
ควรให้ผู้ป่วยนอนพักนิ่งๆเพื่อลดการเคลื่อนไหวซึ่งจะมีผลทําให้เลือดออกมากขึ้น
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จําเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำเลือด หรือพลาสมาทดแทนทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจโดยเฉพาะในรายที่มีการเต้น หัวใจผิดปกติ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ
สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ ที่ออกจากร่างกายผู้ป่วย
ตรวจวัดสัญญาณชีพทึก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ําเสมอ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกออกจากเตียง หรือจัดท่านอนศีรษะสูงเพื่อลดอาการแน่น ท้อง ท้องอืด
ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
สังเกตและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ถึงการย่อยและดูดซึมอาหาร ผิดปกติ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบ หรือระดับความรู้สึกตัว
ดูแลความสุขสบายทั่วไป เช่น การนอนหลับ อาการคลื่นไส้
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ โดยเฉพาะแผลมีการติดเชื้อ
ทำความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ เพื่อป้องกันการติดเชื้อของแผล
สอนและให้คําแนะนําเกี่ยวกับการดูแลแผล และวิธีการส่งเสริมการหายของแผล
สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
การให้คําแนะนําก่อนกลับบ้านสําหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นข้อจํากัดหลังผ่าตัด
การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย อาหารที่ควรรับประทานหรือควรงด
เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ และอาการแสดงของการติดเชื้อ
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การมาตรวจตามแพทย์นัด
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จําเป็นเพื่อนําไปสู่การวางแผนการพยาบาล
การปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด ความรู้สึกของผู้ป่วยเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก
ประเมินระดับความวิตกกังวล
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย พยาบาลจะให้การช่วยเหลือผู้ป่วยนั้นควรทราบข้อมูลต่างๆ ของผู้ป่วย
ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
ความยากลําบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย เช่น ความผิดปกติเกี่ยวกับผิวหนัง กระดูก
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมผู้ป่วย ปรับระดับเตียงให้อยู่ในแนวราบพร้อมทั้งดูแลความปลอดภัยของผู้ป่วย
การเตรียมตัวพยาบาล พยาบาลควรยืนในท่าที่ถูกต้อง พยุงผู้ป่วยด้วยความ นุ่มนวลและมั่นคง
การจัดท่าผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความสุขสบายขณะนอนพัก
ท่านั่งบนเตียง (Fowler's position)
ท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position)
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยัง (Lithotomy position)
ท่านอนตะแคงถึงคว่ํา (Semiprone position)
ท่านอนคว่ำคุกเข่า (Knee-chest position)
ท่านอนคว่ํา (Prone position)
ท่านอนศีรษะต่่ำปลายเท้าสูง (Trendelenburg position)
ท่านอนตะแคง (Lateral or Side-lying position)
ท่านอนหงาย (Dorsal or Supine position)
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ย่อเข่าและสะโพก
หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร
ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแทนการเลื่อนผู้ป่วย
หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
ท่าที่เป็นข้อห้ามของผู้ป่วย
ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
ส่วนที่จําเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหว ร่างกาย
พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
นําหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง อุปกรณ์ที่ไม่จําเป็นเอาออกจากเตียง
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทําได้
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกําลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
เหยียดข้อเข่า เหยียดขาพร้อมกับกดข้อเข่าลงกับที่นอน และยกส้นเท้าขึ้น
งอข้อเท้า หมุนข้อเท้าเข้าหาตัวและออกจากตัว
กางและหุบข้อตะโพก เหยียดข้อเข่าและให้ข้อเท้างอเข้าหาปลายขา
งอและเหยียดนิ้วเท้า
หมุนข้อตะโพก เหยียดขาทั้งสองข้าง หมุนเข้าหาตัวและหมุนออกจากตัว
กร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพก ต้นขา
ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว เมื่อช่วยผู้ป่วยลงจากเตียง
กรณีไม่ใช้เข็มขัด ให้ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วย มือไกลตัว จับที่ปลายแขนของผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน
พยาบาลยืนข้างผู้ป่วยคน ละด้าน มือพยาบาลข้างใกล้ตัวผู้ป่วยสอดใต้รักแร้ผู้ป่วย
จับปลายแขนหรือมือผู้ป่วยข้างเดิม ผู้ป่วยและพยาบาลทั้ง 2 คนเดินพร้อมกัน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
Walker หรือ Pick up frames
Cane
Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ํายัน )
Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ําหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามหรือมี การอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้ําหนักได้ (Non – weight bearing)
เพิ่มการพยุงตัว (Support) เพื่อให้สามารถทรงตัวได้ (Balance)
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้างเมื่อมีข้อห้ามในการ รับน้ำหนักเต็มทั้งขา (Partial weight bearing)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกความแข็งแรง (Strength) ความทนทาน (Endurance)
การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright) บนเตียงหรือเบาะ
การฝึกในราวคู่ขนาน
การลงน้ําหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status)
รูปแบบการเดิน (Gait pattern)
Three - point gait เป็นรูปแบบการเดินที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
Swing to gait วิธีนี้เหมาะที่สุดสําหรับผู้ป่วยที่มีการจํากัดในการใช้ขาทั้ง 2 ข้าง
Two - point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความก้าวหน้าขึ้นจาก Four - point gait
Swing - through gait เป็นรูปแบบการเดินที่ก้าวหน้ามาจาก Swing - to gait วิธีนี้ทําให้เดินได้เร็วขึ้นกว่า Four - point gait
Four - point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความมั่นคงมากที่สุด
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
ไม้ค้ำยันรักแร้ (Auxiliary Crutches) เป็นอุปกรณ์ช่วยเดินที่ควรใช้เป็นคู่
การวัดขนาด
ปรับระดับความยาวไม้ให้ Underarm rest ต่ํากว่า Anterior
ปรับระดับ Hand bar ให้จับแล้วข้อศอกงอ 30 ข้อมือกระดกขึ้น เต็มที่
ให้ผู้ป่วยถือ Auxiliary Crutches ให้ปลายไม้ห่างจากนิ้วก้อยไป ทางด้านข้าง 6 นิ้ว ด้านหน้า 6 นิ้ว
วัดความยาวจาก Anterior auxiliary fold ถึงส้นเท้า บวก 1 นิ้ว สําหรับความสูงของรองเท้าในท่ายืน
ปรับระดับ Hand bar ให้จับแล้วข้อศอกงอ 30 ข้อมือกระดกขึ้น เต็มที่ และมือกําได้เต็มที่
การสอนเดิน การเดินโดยใช้ไม้ค้ำยันรักแร้
Point gait
แสดงการเดินด้วย Crutchesแบบ 2-point gait
แสดงการเดินด้วย Crutchesแบบ 4-point gait
แสดงการเดินด้วย Crutchesแบบ 3-point gait
Swing gait
แสดงการเดินด้วย Crutchesแบบ Swing to gait
แสดงการเดินด้วย Crutchesแบบ Swing through gait
การเดินขึ้นบันไดและลงบันได
แสดงการขึ้นบันไดด้วย Crutches
แสดงการลงบันไดด้วย Crutches
Lofstrand Crutch
การวัดความยาว
การสอนเดิน
Platform Crutch
การวัดความยาวของ Platform Crutch ที่เหมาะสม
การสอนเดิน เช่นเดียวกับ Auxiliary Crutches
ไม้เท้า (Cane)
การสอนเดิน
รูปแบบการเดิน
เดินบนพื้นราบ
เดินขึ้น - ลงบันได
การวัดความยาวของไม้เท้าที่เหมาะสม
ไม้เท้า 3 ขา (Tripod cane) มี
การวัดความยาวของไม้เท้า 3 ขา
การสอนเดิน เดินบนทางราบ : เช่นเดียวกับไม้เท้าขาเดียว
Walke
การวัดความสูงของ Walker ที่เหมาะสม
การสอนเดิน เวลายกและวาง Walker บนพื้น
แบบแผนการเดิน
การออกกําลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกําลังกาย
การออกกําลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทําร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise)
การออกกําลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทํางานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
การออกกําลังกายโดยให้ผู้อื่นทําให้ผู้ป่วย (Passive exercise)
การออกกําลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)
การออกกําลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทําเอง (Active or Isotonic Exercise)
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ส่งเสริมและสนับสนุนการทํางานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
การเสียดทาน (Friction)
เกิดแรงกดทับ (Pressure)
แรงดึงรั้ง (Shearing force)
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
อาการปวดหลัง (Back pain)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดําที่ขา เนื่องจากการที่กล้ามเนื้อคลายตัว
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดํา (Thrombus)
หัวใจทํางานมากขึ้น
ความดันต่ําขณะเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension)
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion)
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น เนื่องจากการพัดโบกของ Cilia
ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทําให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
มีผลต่อการขับถ่าย ทําให้ท้องผูก (Constipation)
ระบบทางเดินปัสสาวะ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis) และ กระเพาะปัสสาวะสูญเสียหน้าที่
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Renal Calculi)
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ําลง (Hypoproteinemia)
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ (Self Concept and Body image)
การเผาผลาญอาหารลดลง