Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
อาหารและน้ำดื่ม
การขับถ่าย
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ
แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ
การส่งผู้ปุวยไปห้องผ่าตัด ให้ผู้ป่วยนอนบนรถนอน (Stretcher) ห่มผ้าให้
เรียบร้อย ยกไม้กั้นเตียงขึ้น
การดูแลครอบครัวผู้ป่วย
การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
1) ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
2) การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย เพื่อลดอาการท้องอืด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ปุวยหลังผ่าตัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย พยาบาลจะให้การช่วยเหลือผู้ป่วยนั้นควรทราบข้อมูลต่างๆของผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ปุวยบนเตียง
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
1) Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
2) Walker หรือ Pick – up frames มีหลายชนิด เช่น Standard walker ,
Rolling walker, Reciprocal walker
3) Cane มีหลายชนิด เช่น Walk cane , Tripod cane , Quad cane
4) Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้้ำยัน ) มีหลายชนิด เช่น Auxiliary
crutches
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
1) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามในการ
รับน้ำหนักเต็มทั้งขา (Partial weight bearing) ข้างนั้น
2) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามหรือมี
การอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้ำหนักได้ (Non – weight bearing)
3) เพิ่มการพยุงตัว (Support) เพื่อให้สามารถทรงตัวได้ (Balance)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
1) การฝึกความแข็งแรง (Strength) ความทนทาน (Endurance) และการ
ประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ (Co – ordination) ที่ใช้ในการเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
2) การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright) บนเตียงหรือเบาะ เช่น การฝึกการทรงตัวในท่านั่ง
3) การฝึกในราวคู่ขนาน เช่น ฝึกยืน ฝึกทรงตัว ฝึกท่าทางการเดิน เป็นต้น
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status) ผู้ป่วยจะต้องลง
น้ำหนักตามแผนการรักษา
รูปแบบการเดิน (Gait pattern)
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise)
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Activeassistive exercise)
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ (Bed sore or Pressuresore or Decubitus ulcer)
พบในผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยที่อ้วนมากหรือผอมมาก ผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับ
ประสาท ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาต ผู้ป่วยที่เป็นโรคระบบประสาทส่วนกลาง และผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
อาการปวดหลัง (Back pain)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานมากขึ้น จากการอยู่ในท่านอนทำให้ปริมาณเลือดกลับเข้าสู่
หัวใจมากกว่าปกติ
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา เนื่องจากการที่กล้ามเนื้อคลายตัว
หรืออ่อนแรงทำให้เกิดเลือดคั่งในหลอดเลือดที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ (Thrombus)
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension)
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion)
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น เนื่องจากการพัดโบกของ Cilia
ระบบทางเดินอาหาร
1) มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทำให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย กังวลใจจาก
การนอนเฉยๆ และโรคที่ เป็นอยู่ความต้องการพลังงานลดลง เป็นสาเหตุให้เกิดการขาดสารอาหาร
2) มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก (Constipation) เนื่องจากการบีบตัวของ
ลำไส้ลดลงจากการหลั่ง Adrenaline ลดลง
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis)
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Renal Calculi)
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญอาหารลดลง
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง (Hypoproteinemia)
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ (Self concept and
Body image)
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ