Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
5.1การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
5.1.1การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
5.1.1.1การซักประวัติ
1.ประวัติโรคประจำตัว
2.ประวัติการผ่าตัดและการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้
3.ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
4.การใช้ยาสารเสพติดการสูบบุหรี่และดื่มสุรา
5.ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับความรู้สึกที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรคทางพันธุกรรม
6.ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆของร่างกาย
5.1.1.2การตรวจร่างกาย
1.สัญญาณชีพ
2.การชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง
3.การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
4.การตรวจร่างกายตามระบบโดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
5.1.1.3การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
5.1.2การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
5.1.2.1การเตรียมผู้ป่วย
1.ด้านร่างกาย
2.ด้านจิตใจ
การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัดรวมทั้งการฝึกทักษะการปฏิบัติตัวในระยะหลังผ่าตัด
1.Early ambulation
ก่อนลุกจากเตียงควรมีการเตรียมพร้อมกล้ามเนื้อขา
2.QSE
เป็นการออกกำลังกายกล้ามเนื้อต้นขา
3.SLRE
เป็นการออกกำลังขาข้อสะโพกและกล้ามเนื้อต้นขาแบบยกขาขึ้นตรงๆ
4.ROM
เป็นการออกกำลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหวในทุกทิศทางปกติของข้อต่างๆ
5.Deep-breathing exercises
โดยจัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงายศีรษะสูง
วางมือทั้ง2ข้างบนหน้าอกส่วนล่าง
แล้วให้กำมือหลวมๆให้นิ้วมือสัมผัสกับหน้าอก
6.Effectivecough
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย
ให้ผู้ป่วยประสานมือทั้ง2ข้างและกดเบาๆเหนือบริเวณที่คิดว่าจะมีแผลผ่าตัด
7.Abdominal breathing
8.Turningandambulation
ควรทำทุก 2 ช.ม.
9.Extremityexercise
10.Pain management
5.1.2.2การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
1.อาหารและน้ำดื่มควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย8ชั่วโมงสำหรับอาหารเหลวใสให้ได้6ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
2.การขับถ่ายถ้าเป็นการผ่าตัดเล็กแพทย์อาจให้สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้แต่ถ้าเป็นการผ่าตัดใหญ่หรือผ่าตัดเปิดสู่ช่องท้องแพทย์จะให้มีการสวนอุจจาระก่อนผ่าตัด
3.การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัดเนื่องจากผิวหนังเป็นแหล่งที่มีเชื้อจุลินทรีย์อาศัยอยู่มากดังนั้นต้องมีการเตรียมความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
1.ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดปากฟันถ้ามีฟันปลอมให้ถอดฟันปลอมออก
ของปลอมของมีค่าต่างๆถอดเก็บไว้ให้ญาติดูแลรักษา
สื่อไฟฟ้าต่างๆให้ถอดออก
ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้าทาปากทาเล็บ
2.ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดร่างกายเปลี่ยนชุดสำหรับใส่เพื่อผ่าตัดและหวีผมเก็บผมให้เรียบร้อย
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วยความกลัวการผ่าตัด
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
5.การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัดมักจะให้ยาในคืนวันก่อนผ่าตัดเพื่อคลายความวิตกกังวลและนอนหลับพักผ่อนได้ดีและก่อนผ่าตัดประมาณ45-90นาที
6.เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆที่พิเศษ
7.แผ่นบันทึกรายงานต่างๆต้องบันทึกให้ครบและรวบรวมให้เรียบร้อย
8.การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยนอนบนรถนอนห่มผ้าให้เรียบร้อยยกไม้กั้นเตียงขึ้น
เจ้าหน้าที่ที่เข็นรถนอนต้องเข็นรถด้วยความนุ่มนวลอย่าเข็นเร็วเกินไป
ควรมีพยาบาลตามไปส่งที่ห้องผ่าตัดด้วย
9.การดูแลครอบครัวผู้ป่วย
10.การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
1.เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจCBCและBloodgroupทันทีให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใส่สายยางทางจมูกเข้าไปในกระเพาะอาหารตามแผนการรักษา
2.ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้แพทย์อาจให้สวนปัสสาวะ
3.ทำความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดให้เรียบร้อยถอดฟันปลอมอวัยวะปลอมต่างๆของมีค่าเครื่องประดับสื่อไฟฟ้าออกล้างสีเล็บออกให้หมด
4.ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นใบยินยอมผ่าตัด
5.ถ้าผู้ป่วยไม่มีญาติมาด้วยพยาบาลต้องถามหรือหาที่อยู่ของครอบครัวเบอร์โทรศัพท์ของครอบครัวและรีบแจ้งให้ครอบครัวทราบโดยเร็วที่สุด
6.วัดและบันทึกอาการสัญญาณชีพรวมทั้งการให้ยาก่อนผ่าตัดลงในใบแบบฟอร์มก่อนผ่าตัดและใบแบบฟอร์มบันทึกทางการพยาบาลให้เรียบร้อย
7.สังเกตสภาพร่างกายทั่วไปอาการและสัญญาณชีพถ้าผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์ทราบ
5.2การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
5.2.1การประเมินสภาพผู้ป่วย
5.2.1.1แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
1.ประวัติ
โรคหัวใจ
โรคปอด
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
2.การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
5.2.1.2แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
ประวัติการได้รับและสูญเสียสารน้ำและเกลือแร่
ชนิดและปริมาณของสารน้ำที่ได้รับและออกจากร่างกาย
ปริมาณแคลอรี่ของอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน
การเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร
5.2.1.3แบบแผนการขับถ่าย
1.ประวัติ
การเสียเลือด
สารน้ำทางปัสสาวะ
การขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลังผ่าตัด
2.ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
3.การทำงานของไต
การประเมินภาวะไม่สมดุลสารน้ำและเกลือแร่
การมีของเสียคั่ง
5.2.1.4แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
5.2.1.5แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
ประเมินการรับรู้และวิธีการเปลี่ยนแปลงความเครียด
สังเกตพฤติกรรมตอบสนองต่อความเครียด
5.2.2 กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
5.2.2.1 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
5.2.2.2การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
5.2.2.3การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
5.2.2.4การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
5.2.2.5การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
5.2.2.6การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
5.2.2.7การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
5.3การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
5.3.1การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
5.3.1.1การประเมินผู้ป่วย
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
ท่าที่เหมาะสมและระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย
5.3.1.2ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
1.การเตรียมผู้ป่วยให้เอาหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออกวางหมอนไว้ที่พนักหัวเตียงปรับระดับเตียงให้อยู่ในแนวราบพร้อมทั้งดูแลความปลอดภัยของผู้ป่วย
2.การเตรียมตัวพยาบาลพยาบาลควรยืนในท่าที่ถูกต้องพยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคงขณะยกตัวหรือเลื่อนตัวผู้ป่วยให้ใช้วิธีสอดมือเข้าใต้ตำแหน่งร่างกายส่วนที่จะยก
3.การจัดท่าผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความสุขสบายขณะนอนพักบนเตียงหรือเตรียมทำหัตถการและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากท่านอนที่ไม่ถูกต้อง
5.3.2การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
5.3.2.1หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1.ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
2.หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
3.ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
4.ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควรและเฉียงปลายเท้าไปตามทิศทางที่ต้องการเคลื่อนย้ายและอยู่ในสมดุลเมื่อต้องการเคลื่อนไปทางหัวเตียงหรือปลายเตียง
5.หลังตรงป้องกันการปวดหลัง
6.ย่อเข่าและสะโพก
7.หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
8.ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
9.ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
10.ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแทนการเลื่อนผู้ปุวย
11.ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
12.ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่2คนขึ้นไปและให้สัญญาณขณะยกหรือใช้อุปกรณ์ที่ช่วยผ่อนแรงมาใช้เมื่อจำเป็น
5.3.2.2การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
1.ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
2.ท่าที่เป็นข้อห้ามของผู้ป่วย
3.ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
4.ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
5.ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
6.ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
7.ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
5.3.2.3วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1.แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
2.นำหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออกวางหมอนที่พนักหัวเตียง
3.พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหวร่างกาย
4.พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
5.3.3การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
5.3.3.1 การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
5.3.3.2 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
1.การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล1คน
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอววิธีนี้จะช่วยคงจุดศูนย์ถ่วงหรือใช้มือหนึ่งจับเข็มขัดบริเวณกึ่งกลางเอวอีกมือหนึ่งจับบริเวณต้นแขนของผู้ป่วยก้าวเดินช้าๆพร้อมกัน
กรณีไม่ใช้เข็มขัดให้ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วยมือไกลตัวจับที่ปลายแขนของผู้ป่วย
2.การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล2คน
5.3.4การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
5.3.4.1ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
1.Parallel bar
เหมาะสำหรับการฝึกเดินครั้งแรกของผู้ป่วยและปรับความสูงของราวตามความสูงของผู้ป่วย
2.Walker
เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีอายุมากและการทรงตัวไม่ดีนัก
3.Cane
มักใช้กับผู้สูงอายุหรือในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก
4.Crutches
ใช้ได้กับผู้ป่วยที่ค่อนข้างแข็งแรงหรือมีการทรงตัวดี
5.3.4.2ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขาเมื่อมีข้อห้ามในการรับน้ำหนักเต็มทั้งขา
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขาเมื่อมีข้อห้ามหรือมีการอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้ำหนักได้
เพิ่มการพยุงตัว
5.3.4.3การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกความแข็งแรงความทนทานและการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ
การฝึกในท่าตั้งตรงบนเตียงหรือเบาะ
การฝึกในราวคู่ขนาน
5.3.4.4การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดินผู้ป่วยจะต้องลงน้ำหนักตามแผนการรักษา
5.3.4.5รูปแบบการเดินการฝึกเดินไม่ว่าจะใช้อุปกรณ์ช่วยเดินแบบใด จะใช้รูปแบบการเดินแบบใดแบบหนึ่ง
5.3.4.6วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
1.ไม้ค้ำยันรักแร้
เป็นอุปกรณ์ช่วยเดินที่ควรใช้เป็นคู่เนื่องจากมีจุดยึดตอนบนอยู่ที่รักแร้จึงช่วยพยุงตัวได้ดีและแบ่งรับน้ำหนักได้ถึง80%ของน้ำหนักตัว
2.Lofstrand crutch
ช่วยเพิ่มความมั่นคงของท่อนแขนส่วนปลายเวลายันลงน้ำหนัก
สามารถใช้เป็นคู่แทนAxillarycrutchesในผู้ป่วยที่มีการทรงตัวดีและมีความมั่นใจในการใช้
ผู้ป่วยสามารถปล่อยมือเพื่อไปทำกิจกรรมอย่างอื่นขณะถือไม้ได้
3.Platform crutch
สามารถลงที่ท่อนแขนส่วนปลายแทนการลงน้ำหนักที่ข้อมือ
นอกจากนี้ส่วนมือจับยังสามารถปรับเปลี่ยนให้เข้ากับความผิดรูปของมือได้
4.ไม้เท้า
5.ไม้เท้า3ขา
6.Walker
5.4การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
5.4.1การออกกำลังกาย
5.4.1.1การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง
5.4.1.2การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
5.4.1.3การออกกกลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น
5.4.1.4การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน
5.4.1.5การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น
5.4.2การเคลื่อนไหวร่างกาย
5.4.2.1ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
5.4.2.2ป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายหรือมีความพิการของกระดูกและกล้ามเนื้อ
5.4.2.3ลดการเมื่อยล้าหรือการใช้พลังงานมากเกินไป
5.4.3ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
5.4.3.1ระบบผิวหนัง
ผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
5.4.3.2ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุเปราะบาง
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรงลีบเล็ก
อาการปวดหลัง
5.4.3.3ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานมากขึ้น
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า
5.4.3.4ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
5.4.3.5ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหาร
มีผลต่อการขับถ่ายทำให้ท้องผูก
5.4.3.6ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ
5.4.3.7ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญอาหารลดลง
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์
5.5กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
5.5.1การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล
5.5.2ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
5.5.2.1วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
5.5.2.2วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
5.5.3การวางแผนการพยาบาลให้การพยาบาลและประเมินผลหลังให้การพยาบาล
5.5.3.1ประเมินระดับความวิตกกังวล
5.5.3.2เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกและค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
5.5.3.3ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
5.5.3.4ดูแลความสุขสบายทั่วไป
5.5.3.5จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ปุวยและให้ผู้ป่วยได้พัก
5.5.3.6รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ