Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด, image, image, image, image, image -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
กิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
และคงไว้ซึ่งการทำงานระบบหายใจ
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
การหายใจเร็วตื้นจากการค้างของฤทธิ์ยาสลบ
หายใจลึกช้าลงจากฤทธิ์ตกค้างของยาระงับปวดกลุ่ม narcotic
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ และไออย่างมีประสิทธิภาพตามวิธี
การจัดท่านอน ให้นอนราบไม่หนุนหมอน
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆในรายที่ไม่รู้สึกตัวควรพลิกตะแคงให้ทุก 1-2 ชั่วโมง
จัดให้นอนในท่าศีรษะสูง(Fowler’s position)
กระตุ้นให้ทากิจวัตรประจาวันด้วยตนเองเพื่อเพิ่มกิจกรรมการเคลื่อนไหวขณะอยู่บนเตียงและลดภาวะแทรกซ้อนจากการนอนท่าเดียวนานๆ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทางานของระบบหัวใจและไหลเวียน
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที 4 ครั้งทุก30 นาที 4 ครั้งและทุก 1 ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วยเพื่อลดอาการท้องอืดแน่นท้องคลื่นไส้อาเจียนและส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีหลังผ่าตัด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกออกจากเตียงหรือจัดท่านอนศีรษะสูงเพื่อลดอาการแน่นท้อง ท้องอืด
ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
สังเกตและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ถึงการย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ เช่นท้องอืดคลื่นไส้อาเจียนท้องผูก
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
ทาความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อเพื่อป้องกันการติดเชื้อของแผลซึ่งจะทำให้แผลหายช้า
สอนและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการดูแลแผลและวิธีการส่งเสริมการหายของแผล โดยเฉพาะการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและวิตามินซีสูง
การให้คาแนะนาก่อนกลับบ้านสาหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆที่เป็นข้อจากัดหลังผ่าตัด
การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วยอาหารที่ควรรับประทานหรือควรงดการรับประทานยาการสังเกตอาการข้างเคียงของยาที่ได้รับ
เรื่องการดูแลแผลการสังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การมาตรวจตามแพทย์นัด
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ประวัติการผ่าตัดและการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
การซักประวัติ
ประวัติโรคประจำตัว ควรครอบคลุมถึงอาการ ความรุนแรงของโรค
ภาวะแทรกซ้อนของโรค และประวัติการรักษา ยาที่ใช้ประจำ
ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น โรคความดันโลหิตสูง
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Urinalysis
Electrolytes
Complete blood count
BUN/Creatinine
Blood sugar
Liver function tests
Coagulogram
Chest X-ray
ECG
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ด้านร่างกาย
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
การพักผ่อนและการออกกำลังกาย ต้องได้รับการพักผ่อนที่ดี
และมีการออกกำลังกายที่พอเหมาะ
ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ ที่ผู้ป่วยควรทราบเพื่อลดความวิตกกังวล
ด้านจิตใจ
การให้คำแนะนาการปฏิบัติหลังผ่าตัดรวมทั้งการฝึกทักษะการปฏิบัติตัว
อาหารและน้าดื่มควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย8 ชั่วโมงNPO
สำหรับอาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัดถ้าผู้ป่วยปากแห้งให้ผู้ป่วยบ้วนปากบ่อยๆ
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
ผิวหนังเป็นแหล่งที่มีเชื้อจุลินทรีย์อาศัยอยู่มากเพราะเป็นบริเวณที่กว้าง
ดังนั้นต้องมีการเตรียมความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดเพื่อเป็นการลดจำนวนจุลินทรีย์
ส่วนบน
บริเวณศีรษะ
บริเวณหูและปุุมกระดูกมาสตอยด์
บริเวณคอ
บริเวณทรวงอก
แขนข้อศอกและมือ
ส่วนล่าง
บริเวณช่องท้อง
บริเวณท้องต่ ากว่าสะดือ
ไต บริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และต้นขา
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
สะโพกและต้นขา
การตรวจร่างกาย
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
สัญญาณชีพ
การตรวจร่างกายตามระบบ โดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับผู้ปุวยให้กล้ามเนื้อมีความตึงตัว แข็งแรง และข้อเคลื่อนที่ได้ตามปกติ
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 1คน
ใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว
ไม่ใช้เข็มขัด ให้ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วย
มือไกลตัวจับที่ปลายแขนของผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ปุวยหัดเดินโดยพยาบาล 2คน
พยาบาลยืนข้างผู้ป่วยคนละด้าน มือพยาบาลข้างใกล้ตัวผู้ป่วยสอดใต้รักแร้ผู้ป่วยอีกข้างหนึ่งจับปลายแขนหรือมือผู้ป่วยข้างเดิม ผู้ป่วยและพยาบาลทั้ง 2 คนเดินพร้อมกัน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
Walker หรือ Pick –up frames
Crutches
Parallel bar
Cane
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ปุวยก่อนการเคลื่อนย้าย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
นำหมอนหนุนศีรษะของผู้ปุวยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง
อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นเอาออกจากเตียง
พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหวร่างกาย
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
พยุงผู้ปุวยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร และเฉียงปลายเท้าไปตามทิศทางที่ต้องการเคลื่อนย้าย และอยู่ในสมดุลเมื่อต้องการเคลื่อนไปทางหัวเตียงหรือปลายเตียง
หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ควรจัดท่าผู้ปุวยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
หันหน้าเข้าหาผู้ปุวยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
พยาบาลจะให้การช่วยเหลือผู้ป่วยนั้น
ควรทราบข้อมูลต่างๆ ของผู้ป่วย
ท่าที่เหมาะสมและระยะเวลาที่ผู้ปุวยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
ความสามารถของผู้ปุวยในการช่วยเหลือตนเอง
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ปุวย เช่น ความผิดปกติเกี่ยวกับผิวหนัง
กระดูก หลอดเลือด เป็นต้น
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมผู้ป่วย
ให้เอาหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนไว้ที่พนักหัวเตียงปรับระดับเตียงให้อยู่ในแนวราบพร้อมทั้งดูแลความปลอดภัยของผู้ป่วย
การเตรียมตัวพยาบาล
พยาบาลควรยืนในท่าที่ถูกต้องพยุงผู้ปุวยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
ขณะยกตัวหรือเลื่อนตัวผู้ปุวยให้ใช้วิธีสอดมือเข้าใต้ตำแหน่งร่างกายส่วนที่จะยก เพื่อรองรับน้ำหนักร่างกาย
การจัดท่าผู้ป่วย
ท่านอนหงาย (Dorsal or Supine position)
ท่านอนตะแคง (Lateral or Slide-lying position)
ท่านอนคว่ำ (Prone position)
ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ (Semiprone position)
ท่านั่งบนเตียง (Fowler’s position)
ท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position)
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง (Lithotomy position)
ท่านอนคว่ำคุกเข่า (Knee-chest position)
ท่านอนศีรษะต่ำปลายเท้าสูง (Trendelenburg position)
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ปุวย (Passive exercise)
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ปุวยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise)
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ปุวยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
การออกกำลังกายให้ผู้ปุวยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ปูองกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูกและกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้าหรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion)
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหาร ท าให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย กังวลใจจากการนอนเฉยๆ
มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก (Constipation)เนื่องจากการบีบตัวของลำไส้ลดลงจากการหลั่งAdrenaline ลดลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานมากขึ้น จากการอยู่ในท่านอนทำให้ปริมาณเลือดกลับเข้าสู่หัวใจมากกว่าปกติ
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา เนื่องจากการที่กล้ามเนื้อคลายตัวหรืออ่อนแรงทำให้เกิดเลือดคั่งในหลอดเลือดที่ข
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ (Thrombus) เนื่องจากมีการคั่งของ
หลอดเลือดดำและการสลายตัวของกระดูก
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension)
พบในการเปลี่ยนท่าจากท่านอนเป็นท่านั่งหรือยืน
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis)
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Renal Calculi)
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
อาการปวดหลัง (Back pain)
ระบบผิวหนัง
ผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ (Bedsoreor Pressure sore or Decubitusulcer)
สาเหตุ
เกิดแรงกดทับ (Pressure)
เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
การเสียดทาน (Friction) เมื่อผู้ปุวยถูกลากหรือเลื่อนตัว
ทำให้ผิวหนังขูดกับที่นอน
แรงดึงรั้ง (Shearing force) เกิดจากแรงกดทับและการเสียดทานที่เกิดขึ้นพร้อมกัน
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญอาหารลดลง
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง (Hypoproteinemia)
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ (Self concept and Body image)
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล
และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
ประเมินระดับความวิตกกังวล
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ