Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ (Urinary system Infection…
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ (Urinary system Infection during pregnancy)
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอดหรือทวารหนักใกล้ท่อปัสสาวะ ย้อนกลับขึ้นไป (ascending infection) ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทํางานของ ระบบทางเดินปัสสาวะขณะตั้งครรภ์ จากผลของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Progesterone) และการขยายตัวของขนาดมดลูก เป็นปัจจัยเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดิน ปัสสาวะได้ ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาขณะตั้งครรภ์ของไต
การประเมินและวินิจฉัย
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
รายที่มีการติดเชื้อที่กรวยไต ควรตรวจ urine culture เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรกทุกรายและตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์
-
-
สาเหตุ
การติดเชื้อ Escherichia Coli (E. Coli) ที่อยู่รอบท่อปัสสาวะ ปัจจัยส่งเสริม คือ การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์ ทําให้ท่อไตตึงตัว ทําให้การเคลื่อนไหวและการหดรัดตัวของท่อไตลดลง ประสิทธิภาพในการดูดซึมกลับลดลง ทําให้ปัสสาวะค้างอยู่ในทางเดินปัสสาวะมากขึ้น และจากการที่มดลูกมีการขยายขนาดใหญ่ขึ้นและกดเบียดกระเพาะปัสสาวะทําให้รูเปิดของหลอดไตที่กระเพาะปัสสาวะเกิดการบิดงอ ขับปัสสาวะออกไม่สะดวก ปัสสาวะค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ ส่งผลให้กระเพาะปัสสาวะและกรวยไตอักเสบเฉียบพลันตามมา
-
-
แนวทางการป้องกันและรักษา
การป้องกัน
-
ทําการคัดกรองการติดเชื้อตั้งแต่ต้น โดยตรวจเพาะเชื้อปัสสาวะ (urine culture) ในสตรีที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกทุกรายหรือทําเฉพาะในรายที่มีความเสี่ยง
-
การรักษา
-
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน ต้องรับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อให้สารละลายทางหลอดเลือดดํา และให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดํา พร้อมทั้งส่งตรวจ Urine culture
การติดเชื้อแบบ ASB
-
ampicillin, cephalexin, amoxicillin
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป และเน้นเรื่องการทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ระยะตั้งครรภ์
-
กรณีที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและได้รับการรักษา ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรค รวมทั้งสังเกตอาการผิดปกติ เช่น อาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด ไตวาย
ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับสตรีตั้งครรภ์และทารก และแผนการรักษาพยาบาล
-
-
ระยะหลังคลอด
-
ให้คําแนะนําเช่นเดียวกับคําแนะนําเพื่อป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์ โดยเน้นการคุมกําเนิด ในรายที่มีบุตรเพียงพอแล้วหรือเป็นโรคไตติดเรื้อรังควรคุมกําเนิดแบบถาวร