Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล
ชนิดของแผลแบ่งตามลำดับความสะอาด
Class II: Clean-contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
Class III: Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
Class I: Clean wound ประเภทที่ 1 แผลผ่าตัดสะอาด
Class IV: Dirty/Infected ประเภทที่ 4 แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลเรื้อรัง (chronic wound) เป็นแผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานานและรักษายากหรือรักษาเป็นเวลานาน
แผลเนื้อตาย (gangrene wound) เป็นแผลที่เกิดจากการขาดเลี้ยงไปเลี้ยงหรือเลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอ
แผลที่เกิดเฉียบพลัน (acute wound) เป็นการเกิดแผลและรักษาให้หายในระยะเวลาอันสั้น
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง(drywound)หมายถึงลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกัน อาจเกิดการติดกันเอง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound) หมายถึง ลักษณะของขอบแผลไม่ ติดกันหรือขอบแผลกว้าง มีสารคัดหลั่ง
ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
แผลท่อระบายเป็นแผลผ่าตัดซึ่งศัลยแพทย์เจาะผิวหนังเพื่อใส่ท่อระบายของเสีย
แผลท่อหลอดคอ(tracheostomytube)เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ ทําการผ่าตัดเปิดหลอดลม
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ (Negative Pressure Wound Therapy: NPWT) เป็นการรักษาแผลที่่มีเนื้อตาย
แผลท่อระบายทรวงอก (chest drain) เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ ทําการเจาะปอด
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง (retention)
แผลทวารเทียมหน้าท้อง(colostomy)เป็นแผลท่อระบายที่ศัลยแพทย์ทําผ่าตัด เปิดลําไส้ใหญ่ออกทางหน้าท้อง
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจากถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่มีขอบแผลขาดกะรุ่งกะริ้ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจากการกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมนเรียกtraumatic wound
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้เรียกcrush wound
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจากการตัดอวัยวะบางส่วน เรียก stump wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stab wound
แผลที่เกิดจากการกดทับ เรียก pressure sore,
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัด เรียก cut wound
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด เรียก surgical wound
แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง (skin graft)
ปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
การได้รับอันตรายและอาการบวม (trauma and edema)
การติดเชื้อ (infection)
ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
แรงกด (pressure) กํารนอนในท่าเดียวนาน ๆ
ความไม่สุขสบาย (incontinence)
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
น้ำในร่างกาย (body fluid)
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies)
โรคเรื้อรัง (chronic disease)
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา (immunosuppression and radiation therapy)
อายุ (age)
ภาวะโภชนาการ (nutritional status)
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล (Type of wound healing)
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ(Secondary intention healing)
การหายของแผลแบบตติยภูมิ(Tertiary intention healing)
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ(Primary intention healing)
กระบวนการหายของแผล (Stage of wound healing)
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
การบันทึกลักษณะบาดแผล
สี เช่น แดง (readiness) เหลือง (yellow) ดํา (black) หรือปนกัน
ลักษณะผิวหนัง เช่น ผื่น (rash) เปียกแฉะ (Incontinence) ตุ่มน้ำพองใส (bruises)
ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบําดแผล เช่น แผลกดทับขั้น 4 (4th stage)
ตําแหน่ง/บริเวณ เช่น ตําแหน่ง RLQ
สิ่งที่ปกคลุมบําดแผลหรือสารคัดหลั่ง (discharge) เช่น หนอง (pus) สารคัดหลั่งเหนียวคลุมแผล (slough)
ชนิดของบาดแผล
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
วิธีการเย็บแผล
Interrupted method
Simple interrupted method
Interrupted mattress method
Subcuticular method
Continuous method
Retention method (Tension method)
ระยะ 1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
วิธีการทำแผลชนิดต่างและการตัดไหม
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing)
หยิบสําลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ แผลวนจากในออกนอกห่างแผล 1 นิ้วเป็นบริเวณกว้ําง 2 นิ้ว
หยิบสําลีชุบ0.9%NSSเช็ดจากบนลงล่างจนแผลสะอาดแล้วเช็ดด้วยสําลีแห้ง
หยิบ tooth forceps ใช้รับของ sterile ทําหน้าที่เป็น dressing forceps
ทําแผลด้วย antiseptic solution ตามแผนการรักษา (ถ้ามี)
หยิบnon-toothforcepsใช้คีบส่งของsterileทําหน้าที่เป็นtransfer forceps
ปิดแผลด้วยgauzeติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลําตัวโดยเริ่มติดชิ้นแรกตรงกึ่งกลางของแผลและไล่ขึ้น-ลงตามลําดับ
เปิดชุดทําแผล (ตามหลักการของ IC) หยิบ forceps ตัวแรกโดยใช้มือจับด้านนอกของผ้าห่อชุดทําแผล
เก็บอุปกรณ์ถอดถุงมือถอดmaskและล้างมือทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
เปิดแผลโดยใช้มือ(ใส่ถุงมือ)หยิบผ้าปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลอยู่ด้านในทิ้งลงชามรูปไต หรือถุงพลาสติก
การทาแผลผ่าตัดแบบเปียก (Wet dressing)
ใช้สําลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาตามแผนการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยา (solution) ใส่ในแผล (packing) เพื่อฆ่าเชื้อและดูดซับสารคัดหลั่งให้ความชุ่มชื้นแก่เนื้อเยื่อ
ทําความสะอาดริมขอบแผลเช่นเดียวกับการทํา dry dressing
ปิดแผลด้วยผ้า gauze และปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลําตัว
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ) เปิดชุดทําแผลตามหลัก IC หยิบผ้าปิดแผลส่วนบนทิ้งลงในชามรูปไตหรือถุงพลาสติก
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
วัสดุสาหรับยึดติดผ้าปิดแผล
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น กรรไกรตัดไหม (operating scissor)
วัสดุสาหรับปิดแผล
ภาชนะสาหรับทิ้งสิ่งสกปรก
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย (Tube drain)
ใช้สําลีชุบ alcohol 70% เช็ดท่อระบายจากเหนือแผลออกมาด้านปลายท่อระบายเช็ดด้วยสําลีแห้ง
กรณี Penrose drain และแพทย์มีแผนการรักษาให้ตัดท่อยางให้สั้น (short drain) หยิบ gauze 1 ผืน เพื่อจับเข็มกลัดซ่อนปลายใช้ forceps บีบเข็มกลัดให้อ้าออก
ใช้สําลีชุบNSSเช็ดตรงกลางแผลท่อระบายแล้วเช็ดด้วยสําลีแห้ง
พับครึ่งผ้าgauzeวางสองข้างของท่อระบายแล้ววางผ้าgauzeปิดทับท่อระบายอีกชั้นและปิดพลาสเตอร์ให้เรียบร้อย
ใช้non-toothforceps(ทําหน้าที่เป็นtransferforceps)หยิบสําลีชุบalcohol 70% ส่งต่อให้ tooth forceps
หลังการทําแผลเสร็จแล้วจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบายและดูแลสภาพแวดล้อม พยาบาลต้องให้คําแนะนําในการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
การเตรียมเครื่องใช้ในการทําแผลเช่นเดียวกับการทําแผลแบบแห้งสําหรับPenrose drain
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง (Dry dressing)
การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)
การตัดไหม (Suture removal)
หลักการตัดไหม
เศษไหมที่เย็บแผลส่วนที่มองเห็นเป็นส่วนที่มีการสัมผัสเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ตามผิวหนังในการตัดและดึงไหมออกจึงไม่ควรดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทําและปิดแผลด้วยวัสดุที่ช่วยดึงร้้งให้ขอบแผลติดกัน (sterile strip)
ตรวจสอบคําสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอัน (total stitches off) หรือตัดอันเว้นอัน (partial stitches off)
วิธีทำการตัดไหม
กํารตัดไหมท่ีเย็บแผล ชนิด interrupted mattress โดยใช้ไหมผูกปมเป็นอัน ๆ ชนิดสองช้ัน
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method ให้ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้านตรงกันข้ามกับปมที่ผูกอันแรกและอันถัดไปด้านเดิม
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted method โดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ โดยใช้ tooth forceps จับชายไหมส่วนที่อยู่เหนือปมที่ผูกไว้
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทําความสะอาดแผลผ่าตัดตามปกติ การตัดลวด เย็บแผลต้องใช้เครื่องมือตัด เรียกว่า “removal staple”
ทําความสะอาดแผล ใช้ alcohol 70% เช็ดรอบแผล เช็ดรอยพลาสเตอร์ออกด้วยเบนซิน และเช็ดตามด้วย alcohol 70% และน้ำเกลือล้างแผล