Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1) การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2) การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่ยก่อนวันที่ผ่าตัด
อาหารและน้ำดื่ม
งดอาหารก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
การขับถ่าย
สวนอุจจาระก่อนผ่าตัด
เตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
ลดจำนวนจุลินทรีย์
ดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ทำความสะอาดปาก ฟัน
ของมีค่าต่างๆถอดเก็บไว้
ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้า ทาปาก ทาเล็บ
ให้ถอดสื่อไฟฟ้าต่างๆออก
ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
ทำความสะอาดร่างกาย
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
ให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆที่พิเศษ
บันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ
ดูแลครอบครัวผู้ป่วย
เตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
ส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
ส่งเสริมการทางานของระบบหัวใจและไหลเวียน
บรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
ส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
ส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
ส่งเสริมการหายของแผล
ให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
เหมาะสำหรับการฝึกเดินครั้งแรกของผู้ป่วย
Standard walker เป็นอลูมิเนียมเหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีอายุมากและการทรงตัวไม่ดีนัก
Standard cane เป็นการเดินด้วยไม้เท้าอันเดียว ผู้ป่วยต้องมีมั่นคงในการเดิน
Auxiliary crutches ใช้ได้กับผู้ป่วยที่ค่อนข้างแข็งแรง หรือมีการทรงตัวดี
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
ชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง
(Active or Isotonic Exercise)
ให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise)
ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise)
ให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
ให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น
(Resistive exercise)
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทางานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
ผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก
(Muscle atrophy)
อาการปวดหลัง (Back pain)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานมากขึ้น
เลือดคั่งในหลอดเลือดดำที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ (Thrombus)
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า
(Orthostatic Hypotension)
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
(Decrease lung expansion)
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
การรับประทานอาหารทาให้เบื่ออาหาร
การขับถ่าย ทำให้ท้องผูก (Constipation)
ระบบทางเดินปัสสาวะ
มากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis)
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ
(Renal Calculi)
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญอาหารลดลง
ระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง (Hypoproteinemia)
อัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ผิดปกติ
(Self concept and Body image)
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล