Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ธรรมชาติของภาษา, นางสาว กรกนก ฤทธี 60205643 Sec7 - Coggle Diagram
ธรรมชาติของภาษา
ลักษณะธรรมชาติของภาษา่
-
- ภาษาหมายถึง ภาษาของมนุษย์ มนุษย์เป็นผู้สร้างและผู้ใช้ภาษา ของมนุษย์ มนุษย์เป็นผู้กำหนดกฎเกณฑ์
- ภาษาหมายถึง ภาษาพูด เป็นเครื่องมือที่ใช้ใน การสื่อสารท่ัวไปมากที่สุด
- ภาษามีโครงสร้าง หรือองค์ประกอบ โครงสร้างของภาษา ประกอบด้วยเสียงซึ่งมนุษย์ เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะต่างๆ และความหมายซึ่งเป็นท่ีกำหนดตกลงกันทั่วไป
- ภาษามีระบบ กฎเกณฑ์แน่นอนในตัวเอง ทำให้มนุษย์สามารถ เรียนรู้และเข้าใจภาษานั้น ๆ ได้โดยใช้ระบบสื่อสารของตน
- ภาษามีจำนวน ประโยคไม่รู้จบ ภาษามีเสียงจำกัด แต่เมื่อนำเสียงมาเรียงต่อกันเป็นคำ และ นำคำเหล่าน้ันมาผลิตเป็น คำพูด เราจะได้จำนวนประโยค ไม่รู้จบ
7.ภาษาเป็นพฤติกรรมของสังคม เป็นเครื่องกำกับพฤติกรรมของคนในสังคม สะท้องถึงลำดับช้ันในสังคม อย่างเด่นชัด
- ภาษาเป็นเครื่อง แสดงความเจริญของสังคม
- ภาษาเป็นสิ่งที่ได้ ทางวิทยาศาสตร์ การสังเกตและรวบรวมข้อมูล โดยบันทึกเป็นสัทอักษร และ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาเพื่อหา หน่วยเสียง หน่วยคำและ ลักษณะประโยคอาจใช้ เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
-
ความหมายของภาษา
พระยาอนุมานราชธน
กล่าวว่า ภาษาตามความหมายของ นิรุกติศาสตร์คือ วิธีที่มนุษย์แสดงความในใจ เพื่อให้ผู้ที่ตนต้องการให้รู้ได้รู้
-
วิจินต์ ภาณุพงศ์
ได้ให้ความหมายของภาษาไว้ว่า ภาษาคือเสียงพูดที่มีระเบียบและ ความหมาย ซึ่งมนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการสื่อสาร ความคิด ความรู้สึก ความต้องการ และใช้ในการประกอบ กิจกรรมร่วมกัน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2555
ได้ให้คาจากัด คำว่า “ภาษา” ว่า “ถ้อยคาที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความหมาย ของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์
กล่าวถึงภาษาว่าเป็นระบบสัญลักษณ์ใน เชิงคำพูดหรือเชิงการเขียนที่มนุษย์เท่านั้นกำหนดขึ้น และใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อความหมายต่อ กันและกัน และภาษามีลักษณะที่ทำนายล่วงหน้า ไม่ได้ ให้เหตุผลไม่ได้ว่าทำไมแต่ชาติแต่ละภาษาจึง ฟังเสียงต่างกันไปได้
มโนทัศน์เกี่ยวกับภาษา
ภาษาถิ่น ภาษาไทยที่พูดในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ของประเทศไทย เป็นภาษาเดียวกัน แต่มี ความแตกต่างกัน ความแตกต่างนี้เป็นไปตามถิ่น ภาษาเหล่านี้มีเอกลักษณ์ประจภตัว ซึ่งผู้ฟังได้ยินแล้วจะทายถูกว่าเป็นภาษาไทยถิ่นใด
ภาษาย่อย มโนทัศน์ภาษาย่อยเหมือนกับภาษาถิ่นคือเป็นสมาชิกของภาษาเดียวกัน อันที่จริงแล้ว คำว่า ภาษาย่อยคือ ภาษาถิ่น แปลมาจากคำภาษาอังกฤษคำพูดเดียวกันคือ dialect
วิธภาษา หมายถึง “ชนิดต่าง ๆ ของภาษาใดภาษาหนึ่ง” เช่น เมื่อพูดถึงการที่ภาษาไทยแตกย่อยออกเป็นชนิดต่างๆ ชนิด ต่างๆ ของภาษาไทยก็คือวิธภาษานั่นเอง วิธภาษาแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่
- วิธภาษาที่แตกต่างกันโดยลักษณะทางสังคมของผู้พูด
- วิธภาษาที่แตกต่างกันโดยสถานการณ์การใช้หรือหน้าที่
ภาษามาตรฐาน ภาษามาตรฐานมักเป็นภาษาที่มีความมั่นคงแต่ในขณะเดียวกันก็เปลี่ยนตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภาษามาตรฐานมัก ได้รับการยกย่องให้เป็นภาษาประจำชาติ
ประเภทของภาษา
วัจนภาษา (verbal language) คือ ภาษาถ้อยคำ ได้แก่ คำพูด หรือตัวอักษรที่กำหนดใช้ร่วมกันในสังคม หมายรวมทั้งเสียงและลายลักษณ์อักษร ภาษาถ้อยคำเป็นภาษาที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างมีระบบ
อวัจนภาษา (non - verbal language) คือ ภาษาที่ไม่ใช่ถ้อยคำ แต่เป็นภาษาซึ่งแฝงอยู่ ได้แก่ กิริยาท่าทาง น้ำเสียง ภาษากาย การยิ้มแย้ม เป็นต้น
-
-
-