Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ซักประวัติผู้ป่วย
ประวัติโรคประจำตัว
ประวัติการผ่าตัด
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
การใช้ยา เสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆของร่างกาย
การตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
การตรวจร่างกายตามระบบ โดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การยืนยันการวินิจฉัยโรค บอกความรุนแรงของโรค
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับสารอาหาร
ภาวะสารน้ำและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
การพักผ่อนและการออกกำลังกาย
ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ
ด้านจิตใจ
ประเมินความเครียดก่อนการผ่าตัด
ความวิตกกังวล
การให้คำแนะนำการปฎิบัติหลังผ่าตัด
Early ambulation
ให้ผู้ป่วย Absolute bed rest ก่อนลุกจากเตียงครมีวามพร้อมกล้ามเนื้อขา
Quadriceps Stting Exercise
ให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอนเหยียดขาตรงกระดกข้อเท้าขึ้นและกดเข่างบนที่นอน และเกร็งเนื้อต้นขา ไว้ประมาณ 5 วินาที โดยนับ1-5 ช้าๆ
Straight leg Raising Exercise (SLRE)
ข้อสะโพกและกล้ามเนื้อต้นขายกขาขึ้นตรงๆ โดยการนอนราบยกขาข้างที่ไม่ใช้อุปกรณ์ขึ้นตรงๆในระดับ 45 องศาถึง 60 องศา เกร็งไว้ 5วินาที โดยนับ1-5 ช้าๆ
Range of Mtion (ROM)
ออกกำลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหวในทุกทิศทางปกติของข้อต่างๆ
Deep-breathing exercises
นอนหงายศรีษะสูง วางมือทั้ง 2 ข้างบนหน้าอกส่วนล่าง กำมือหลวม ให้รู้สึกการเคลื่อนไหวของปอด กลั้นหายใจไว้ ให้ผู้ป่วยนับ1-5 ค่อยผ่อนลมหายใจ ทำซ้ำ 15 นาที
Effective cough
นั่งเอนไปข้างห้าเล็กน้อยให้ผู้ป่วยมือประสานกัน กดเบาๆเหนือบริเวณที่แผลผ่าตัด ลดอาการเจ็บแผลขณะที่ไอ ให้ผู้ป่วยหายใจเข่า - ออก ให้หายใจเข้าเต็มที่ อ้าปากเล็กน้อย ให้ผู้ป่วยไอ 3-4 ครั้งแล้วอ้าปาก หายใจลึก ไอแรงๆ 1-2 ครั้ง เสมหะที่มีอยู่ในปอดออกมา
Abdominal breathing
ให้หายใจเข้าออกโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องแทนทรวงอก เพื่อให้ทรวงอกเคลื่อไหวน้อยลงในระยะแรกหลังผ่าตัด ทำ 8-10 ครั้ง ทุก 2 ชั่วโมง
Turning and ambulation
ใช้มือซ้ายกั้นเตียงซ้ายแล้วพลิกมาทางขวาการลุกนั่ง ให้ผู้ช่วยเหลือไขหัวเตียง ประมาณ 45-60 องศา
Extremity exercise
ออกกำลังการแขนขาทีละขาโดยเฉพาะการเหยียดออกและงอเข้าของทุกข้อ ยกเว้นในราที่มีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวหลังผ่าตัด
Pain management
ผู้ป่วยได้ยาระงับความเจ็บปวดด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
อาหารและเครื่องดื่ม
ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง อาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
การขับถ่าย
แพทย์อาจจะมีการสวนอุจจาระ หรือให้รับประทานยาระบายก่อนวันผ่าตัด
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
บริเวณศรีษะ
เตรียมลงมาบริเวณแนวกระดูกไหปลาร้าทั้งหน้าและหลัง
บริเวณหุและปุ่มกระดูกมาสตอยด์
เตรียมบริเวณกว้างเป็นวงรอบออกไปจากหูประมาณ 1-2 นิ้ว โกนขนอ่อน ที่ใบหู
บริเวณคอ
เตรียมบริเวณจากใต้คางลงมาถึงระดับราวหัวนม และจากหัวไหล่ข้างขวาถึงข้างซ้าย
บริเวณทรวงอก
เตรียมด้านหน้าจากคอตอนบนจนถึงสะดือจากแนวยาวของหัวนมข้างที่ไม่ได้ทำการผ่าตัดจนถึงกึ่งกลางหลังของข้างที่ทำ
บริเวณช่องท้อง
เตรียมตั้งแต่ระดับรักแร้ลงมาถึงฝีเย็บ
บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
เตรียมบริเวณตั้งแต่ระดับราวนมลงมาถึงต้นขา รวมทั้งบริเวณฝีเย็บ
ไต
เตรียมด้านหน้าจากบริเวรรักแร้จนถึงบริเวอวัยวะสืบพันธ์ุและต้นขาทั้ง2ขา ด้านข้างจากรักแร้ถึงตะโพก ด้านหลังกึ่งกลางลำตัวไปจนถึงกรดูกสันหลังซีกของไตข้างที่จะทำการผ่าตัด
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
เตรียมแต่ระดับสะดือ ลงมาถึงฝีเย็บ และด้านในของต้นขาและก้น
แขน ข้อศอก และมือ
เตรียมบริเวณแขนข้างที่จะทำการผ่าตัดทั้งด้านหน้าและหลังจากไหล่ถึงปลายนิ้วมือ ตัดเล็บให้สั้นและความสะอาด
ตะโพกและต้นขา
เตรียมบริเวณจากระดับเอวลงมาถึงระดับต่ำก่าหัวเข่าข้างที่จะทำ 6 นิ้วทั้งหน้าหลังและด้านข้าง
การทำ Skin graft
ทำความสะอาดผิว
หัวเข่า
เตรียมจากขาหนีบถึงข้อเข่าข้างที่จะทำการผ่าตัด
ปลายขา
เตรียมจากเหนือหัวเข่า ประมาณ 8 นิ้ว ลงมาถึงเท้าข้างที่จะผ่าตัด ตัดเล็บให้สั้น
เท้า
เตรียมขากใต้หัวเข่าลงไปถึงเท้าข้างที่ผ่่าตัด ตัดเล็บให้สั้น
ขั้นตอนการเตรียมผิว
เตรียมเครื่องมือ
แจ้งผู้ป่วยให้ทราบ กั้นม่าน ดูแสงสว่าง
ปูผ้ายางรองกันเปื้อนบริเวณที่จะผ่าตัด
บริเวรที่สกปรกมากให้เช็ดด้วยเบนซินแล้วฟอกดวนสบู่
โกนผมหรือขน วางมีดประมาณ 45 องศา แต่ละครั้งจะลากยาว 6-8 นิ้ว
เมื่อโกนเสร็จให้ใช้สบู่และน้ำล้างให้สะอาด
เก็บผมหรือขน ใบมีดโกนที่ใช้แล้วห่อใส่กระดาษให้เรียบร้อย มีการแยกใบมีดโกน
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดปาก
ของมีค่าควรฝากญาติดูแลรักษา
สื่อไฟฟ้าต่างๆ
ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้า
ในเช้าวันผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดร่างกาย เปลี่ยนชุดสำหรับใส่ผ่าตัด
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
มักจะให้ยาในืนก่อนวันผ่าตดและก่อนผ่าตัดประมาณ 45-90นาที ลดการวิตกกังวล
เตรียมเครื่องมือใช้ต่างๆพิเศษ
การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยนอนบนรถถนอน ห่มผ่าให้เรียบร้อย ควรให้ญาติมาดูแลให้กำลังใจ
แจ้งให้ครอบครัวทราบถึงเวลาที่ผู้ป่วยจะเข้าห้องผ่าตัด
การเตรียมผ่าตัดห้องฉุกเฉิน
เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจ CBC และ Blood group
ให้ผู้ป่วยปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่ทำได้
ทำความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวรที่ผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยหรือญาติทีมีสิทธิทางกฏหมายเช็นใบยินยอม
วัดอาการบันทึก
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป อาการ และสัญญาณชีพ
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
ประเมินการรับรู้ และวิธีการเปลี่ยนแปลงความเครียด
แบบแผนการรรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ประเมินความรู้ความเข้าใจ ร่วมมือปฏิบัติการรักษาพยาบาล
แบบแผนการขับถ่าย
การทำงานของไต
ลักษณะการเปลี่ยนแลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
ประวัติการเสียเลือด สาน้ำทางปัสสาวะ การขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลังผ่าตัด
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
ปริมาณที่สำคัญ ประวัติการได้รับน้ำอละเกลือแร่ ตั้งแต่ก่อนและหลังผ่าตัด ปริมาณแคลอรี่ของอาหารที่ได้รับแต่ละวัน
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตที่มีก่อนผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจโล่ง
การจัดท่านอน ให้นอนราบไม่หมุนหมอน ตะแคงข้างใดข้างหนึ่ง
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงบ่อยๆ
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตัวเอง เคลื่อนไหวขณะอยู่บนเตียง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนรักษา
สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์ทันที
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุ 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 4 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะสม่ำเสมอ
สังเกตลักษณะบาดแผและปริมาณสิ่งคัดหลั่งที่ออกจากร่างกาย
ดูแลให้ได้รบสารน้ำ เลือด หรือพลาสมาทดแทนทางหลอดเลือดดำ
ควรให้ผู้ป่วยนอนพักนิ่งๆในบริเวณที่มีเลือดออกมาลดการเคลื่อนไหว
เตรียมเครื่องมือเครืองใช้ที่จำเป็นให้พรอมในรายที่มีภาวะช็อก
สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รัการผักพ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากบาดแผล
ประเมินความเจ็บปวดของผู้ป่วยโดยใช้ Pain scale และให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนรักษา
ดูแลจัดท่าที่เหมาะสมเพื่อลดการดึงรั้งของแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกจากเตียง
ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
สังเกตและบันทึกอาการที่เปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ถึงการย่อยและดูดซึมอาหาร
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
ดูแลความสุขบายทั่วไป
การดูแลสุขอนามัยส่วนที่บุคคลเกี่ยวกับความสะอาดของร่างกาย
ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบ และระดับความรู้สึก
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
สังเกตประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ โดยเฉพาะแผลมีการติดเชื้อ
ทำความะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลแผล
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ อาการแสดงของการติดเชื้อ
การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นข้อจำกัดหลังผ่าตัด
ส่งเสริมภาวะโภชนาการของผุ้ป่วย อาหารที่ควรรับประทานหรืออาหารที่ควรงด
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
การมาตรวจตามที่แพทย์นัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตัวเอง
ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงที่อยู่ในท่าที่เปลี่ยนใหม่
ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะที่เปลี่ยนท่า
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย
การปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมผู้ป่วย แจ้งให้ผู้ป่วยทราบ ใหสัญญาณขณะเคลื่อนตัวผู้ป่วย
การเตรียมตัวพยาบาล ควรยืนในท่าที่ถูกต้อง พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวล
การจัดท่าผู้ป่วย
Dorsal or Supine position ท่านอนหงาย
Lateral or Slide-lying position ท่านอนตะแคง
prone position ท่านอนคว่ำ
Semiprone position ท่านอนตะแคงกค่งคว่ำ
Fowler's position ท่านั่งบนเตียง
Dorsal recumbent position ท่านอนหงายชันเข่า
Lithotomy position ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง
Knee-chest position ท่านอนคว่ำคุกเข่า
Trendelenburg position ท่านอนศีรษะต่ำกว่าปลายเท้าสูง
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบท่าที่สบาย
หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปทิศทางที่เคลื่อนย้าย
ควรยืนในท่าที่ถูกต้อง
ยืนแยกเท้าทั้ง 2 ข้างห่างกันพอสมควร เฉียงปลายเท้าไปตามทิทางที่ต้องการเคลื่อนย้าย
หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
ย่อเข่าและสะโพก
หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในารยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพียง
ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
ความสามารถในการช่วยเหลือตัวเอง
ท่าที่เป็นข้อห้ามผู้ป่วย
ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่า ความสุขสบาย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือ
นำหมอนหนุนศีรษะของผุ้ป่วยออก วางหมอนที่พนักพิง อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นออก
พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้อง มั่นคง ใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนย้ายร่างกาย
พยุงผุ้ป่วยด้วยความนุ่มนวล มั่นคง ใช้มือสอดเข้าไปตำแหน่งของร่างกายที่จะยก
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
หมุนข้อตะโพก เหยียดขาทั้ง2ข้าง หมุนเข้าหาตัว
กางแหละหุบข้อตะโพก เหยียดข้อเข่าให้ข้อเท้างอหาปลายขา
เหยียดข้อเข่า เหยียดขาไปพ้อมกับกดเข้าลงกับที่นอน
งอข้อเท้า หมุนข้อเท้าเข้าหาตัวและออกจากตัว
เกร็งกล้ามเนื้อหน้าื้อง ตะโพก ต้นขา
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว
กรณีไม่ใช้เข็มขัด
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน
มือพยาบาลสอดใต้รักแร้ผู้ป่วย อีกข้างหนึ่งจับปลายแขนหรือมือผู้ป่วยข้างเดิมผู้ป่วยและพยาบาลจะเดินไปพร้อมกัน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
Parallel bar
Walker หรือ Pick-up frames
Cane
Crutches
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้างห้ามในการับน้ำหนักเต็มทั้งขาข้าง
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมือห้ามมีการอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้ำหนักได้
เพิ่มการพยุงตัว เพื่อให้สามารถทรงตัว
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกความแข็งแรง ความทนทาน และการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ
การฝึกในท่าตั้งตรง บนเตียงหรือเบาะ
การฝึกในราวคู่ขนาน
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน
Non weight bearing
Toe touch weight bearing
Partial weight bearing
Full weight bearing
Weight bearing as tolerated
รูปแบบการเดิน Gait pattern
Four-point
Two-point
Three-point
Swing-to gait
Swing-through gait
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
ไม้คันยันรักแร้
Lofstrand crutch
Platfom crutch
ไม้เท้า
ไม้เท้า 3 ขา
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดที่ผู้ป่วยทำเอง
การยกแขนขา ขณะนอน
ให้ผู้ป่วยลุกเดินข้างเตียง
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
พยาบหรือญาติช่วยผู้ป่วยยกแขนขา
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับช่วยเหลือผู้อื่น
การพยุงหรือช่วยเหลือผู้ป่วยในการลุก-นั่งข้างเตียง เดินข้างเตียง
การออกกำลังการโดยใช้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน
การกระตุ้นให้ออกกำลังกายโดยการเกร็งกล้ามเนื้อหน้าขา
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น
การใช้อุปกรณ์เครื่องมือให้ผู้ป่วยออกแรงต้าน
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
เกิดแรงกดทับ
เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
การเสียดทาน
แรงดึงรั้งเกิดจากแรงกดทับ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก
อาการปวดหลัง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานมากขึ้น
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทำให้เบื่ออาหาร
มีผลต่อระบบขับถ่าย
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญลดลง
มีระดับโปรตีนในหลอดต่ำ
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์แลัภาพลักษณ์
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวล
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
จัดหมวดหมู่กิจรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวน
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการิดปกติ