Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
End stage renal disease (ESRD) with volume overload - Coggle Diagram
End stage renal disease (ESRD) with volume overload
ข้อมูลทั่วไปผู้ป่วย
เพศหญิง อายุ 77ปี
จบมัธยมศึกษาชั้นปีที่3 อาชีพแม่บ้าน รายได้ 700 บาท
อาศักอยู่กับลูกชาย
ความรู้สึกตัวดีปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเองได้บางส่วน
สิทธิค่ารักษาพยาบาล รัฐวิสาหกิจ
การเจ็บป่วยในอดีต
Hypertension
Diabetes Mellitus
Chronic Kidney Disease
อาการและอาการแสดง
หายใจเหนื่อยหอบ
ให้ Lasix ไม่ดีขึ้น
ปัสสาวะน้อย
นอนราบไม่ได้
บวมกดบุ๋ม1+
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะติดเชื้อในร่างกายเนื่องจากไตได้รับบาดเจ็บ
กิจกรรมทางการพยาบาล
ตรวจสอบและบันทึกสัญญาณชีพภาวะไข้ อาการและอาการแสดงเพื่อประเมินความเปลี่ยนแปลงของร่ายกาย
2.ดูแลผู้ป่วยให้มีความสมดุลของน้ำและอิเล็กโตรไลท์โดยมีการ ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการถ้าพบความผิดปกติรายงาน แพทย์ทราบเพื่อการแก้ไข
3.ลดปัจจัยจะส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดภาวะการติดเชื้อเพิ่มขึ้นใช้ เทคนิคในการพยาบาลอย่างมีมาตรฐานเทคนิคปลอดเชื้อต่างๆ
4.ลดการแพร่ระบาดเชื้อเช่นล้างมือก่อนและหลังทำหัตถการการส่ง ตรวจLab
5.บันทึกปริมาณจำนวนน้ำที่ได้รับและขับออกใน 8 ชั่วโมงเพื่อ ประเมินการทำงานของไต
7.ติดตามผลโลหิตวิทยาโดยดูจากเม็ดโลหิตขาว (WBC) และค่านิว โตรฟิว (neutrophil) เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
6.ส่งเสริมความสุขสบายของผู้ป่วยรักษาความสะอาดของปากและ ฟันเช็ดทำความสะอาดร่างกาย
8.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา tazocin 4.5 g v q 6 hr ตามแผนการรักษาของแพทย์
มีภาวะของเสียคั่งในร่างกายเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
กิจกรรมการพยาบาล
1.สังเกตระดับความรู้สึกตัวเพื่อประเมินภาวะของเสียคั่ง
2.ประเมินสัญญาณชีพเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
3 ดูแลให้ได้รับยา Lasix ตามแผนการรักษา
4 ดูแลให้ได้รับการทำ HD ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับอาหารจืดเนื้อน้อยโปแตสเซียม ต่ำแคลอรี่ต่ำตามแผนการรักษาของแพทย์
บันทึกจำนวนน้ำเข้าออกทุก 8 ชั่วโมง
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนจากปอดบวมน้ำ เนื่องจากไตไม่สามารถขับน้ำออกได้และอาจเกิดภาวะน้ำเกิน
กิจกรรมการพยาบาล
1.สังเกตอัตราการหายใจ ฟังปอด และวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Spo2) ทุก 4ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับปริมาณสารน้ำตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
บันทึกสารน้ำเข้าและออกจากร่างกายและประเมิน V/S เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
ติดตามผลเอกซเรย์ปอดเพื่อเฝ้าระวังภาวะน้ำท่วมปอด pulmonary edema
มีภาวะวิตกกังวลเกี่ยวกับความเจ็บป่วยเรื้อรัง
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีกับผู้ป่วยและญาติให้การช่วยเหลืออย่างเอื้ออาทร
ประเมินความรู้สึกของผู้ป่วยและญาติเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติได้พูดระบายความรู้สึก
ออกมาและซักถามเกี่ยวกับอาการของตนเอง
อธิบายวัตถุประสงค์และขั้นตอนในการรักษาพยาบาลต่างๆ ให้ผู้ป่วยและญาติได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจมากที่สุด
วางแผนการพยาบาล เพื่อประคับประคองผู้ป่วยอธิบาย
ให้ผู้ป่วยและญาติได้กำหนดและควบคุ้มการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ ได้ด้วยตนเองโดยไม่ขัดต่อแผนการรักษาของแพทย์
ตอบคำถามเกี่ยวกับความกลัวต่อสิ่งต่างๆและความกลัวต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ป่วยด้วยความจริงใจและมีเหตุผล
แนะนำวิธีผ่อนคลายความเครียด เช่น
ฟังดนตรีทำสมาธิกำหนดลมหายใจ
แนะนำญาติให้จัดหาวิทยุเพื่อให้ผู้ป่วยได้ฟังเพลงหรือเทป
สาเหตุการเกิดภาวะน้ำเกิน
1) ผู้ป่วยและญาติไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค อาการแสดงของโรคภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกินขึ้น ทำให้การปฏิบัติตัวขณะเป็นโรค การเลือกรับประทานอาหาร การจำกัดน้ำ
2) พฤติกรรมการบริโภค
3) ภาวะเศรษฐกิจ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
4) ขาดแรงสนับสนุนทางสังคม ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ
จากครอบครัวในการจัดอาหารที่เหมาะสมกับโรค
5) การรับประทานยาไม่สม่ำเสมอ
6) จำนวน
เครื่องไตเทียมไม่เพียงพอกับจำนวนผู้ป่วย
7) ผู้ป่วยมีภาวะทุพโภชนาการ มีการสูญเสียสารอาหารต่างๆ จาก
กระบวนการการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม