Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มงานวิจัย - Coggle Diagram
กลุ่มงานวิจัย
-
-
-
-
รูปแบบการศึกษา
-
-
3.กิจกรรมสร้างสรรค์แบบกับกลุ่มตัวอย่างทั้ง 15 คน เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ วันละ 20 นาทีและวันสุดท้ายผู้วิจัยและผู้ช่วยจำนวน 1 คนทำการประเมินสัมพันธภาพทางสังคมของปฐมวัย
-
5.เมื่อสิ้นสุดการทดลองการจัดกิจกรรมภาพวาดต่อเติมจากภาพปกติเป็นกลุ่มผู้วิจัยทำการประเมินสัมพันธภาพทางสังคม
-
ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน
เน้นถึงความสำคัญของบุคลิกภาพของมนุษย์ว่าจะพัฒนาได้ดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับความสำเร็จในแต่ละช่วงอายุการพัฒนาที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงของชีวิตถ้าได้รับการตอบสนองอย่างเต็มที่บุคคลจะมีบุคลิกภาพดีและพร้อมที่จะพัฒนาขึ้นต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพซึ่ง Ericsson ได้แบ่งระยะพัฒนาการทางสังคม 8 ระยะและที่เกี่ยวข้องกับช่วงปฐมวัยมี 3 ระยะดังนี้
- ระยะความรู้สึกเชื่อมั่นอายุของเด็กระยะนี้อยู่ระหว่างหลังตลอดจนถึง 1 ปีระยะนี้เด็กมีความสบายทางกายและได้รับความรักความอบอุ่นแม้ในยามที่เขาต้องการเด็กจะมีการปรับตัวที่ดีสามารถพัฒนาการความรู้สึกไว้วางใจขึ้นได้และในทางตรงกันข้ามถ้าทารกขาดความสุขทางกายขาดความรักความอบอุ่นก็จะเป็นที่ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองมีความกลัวและขาดความไว้วางใจผู้อื่น
- ระยะความต้องการทำหรือค้นหาด้วยตนเองอายุของเด็กระยะนี้อยู่ระหว่าง 1 ถึง 3 ปีเป็นระยะที่เด็กเริ่มฝึกการขับถ่ายถ้าเด็กปฏิบัติได้ดีก็จะสามารถผ่านขั้นนี้ไปได้ด้วยดีเด็กจะเรียนรู้ในการศึกษา ความตั้งใจของตนเองและทำความตั้งใจให้เป็นจริงได้
- ระยะการคิดริเริ่มอายุของเด็กระยะนี้อยู่ระหว่าง 3-6 ปีเด็กจะพยายามสร้างเอารักของตนเองและความสามารถแสดงความรู้สึกพฤติกรรมที่เหมาะสมในสภาพแวดล้อมต่างๆได้เด็กสามารถพัฒนาความร่วมมือและเป็นผู้นำผู้ตามที่ดีได้ระยะนี้หากเด็กเกิดความกลัวเด็กๆจะยืนดูผู้ใหญ่ที่เป็นที่พึ่งตลอดเวลาทำให้ความคิดจินตนาการและพัฒนาการทักษะสังคมถูกจำกัดลงไปด้วย
-
ผลจากการพัฒนาความพร้อมทางสติปัญญาของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยการจัดประสบการณ์ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา
-
-
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันการเสี่ยงทางเพศของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
-
รูปแบบการศึกษา
-
-
-
- ผู้วิจัยตรวจสอบแบบสอบถามทุกฉบับให้มีความสมบูรณ์เพื่อทำการบันทึกข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ต่อไป
ผลจากการวิจัยปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันการเสี่ยงทางเพศของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
อาการเก็บแบบสอบถามทั้งหมดที่ได้แบบสอบถามจำนวน 406 ชุดคิดเป็นร้อยละ 98.6 ผู้ที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงร้อยละ 50 6.90 และเพศชายร้อยละ 43.0 เมื่อจำแนกตามระดับการศึกษาแล้วเป็นนักเรียนระดับปวชร้อยละ 5 12.96 และนักเรียนระดับปวสร้อยละ 40 7.40 โดยเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ร้อยละ 50 4.43 นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ร้อยละ 28.3 3 และนักศึกษาปีที่๓ร้อยละ 16.7 5 โดยที่นักเรียนนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามมีคู่รักคนเดียวเป็นส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 48.3 9 รองลงมาคือไม่มีคู่รักร้อยล้าน 37.4 และมีคู่รักหลายคนร้อยละ 26.18 นักศึกษามีพฤติกรรมการป้องกันการเสี่ยงทางเพศส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลางมีลักษณะมุ่งอนาคต-ควบคุมตนเองส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลางมีค่านิยมทางเพศอยู่ในระดับปานกลางมีการเห็นคุณค่าในตนเองส่วนใหญ่อยู่ในระดับมากมีความเชื่ออำนาจภายในตนด้านสุขภาพอยู่ในห้องระดับปานกลางมีอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อนต่อพฤติกรรมทางเพศอยู่ในระดับปานกลางและมีความรู้เรื่องเพศอยู่ในระดับปานกลาง
-