Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
1) สัญญาณชีพ
2) การชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง
3) การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
4) การตรวจร่างกายตามระบบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) ข้อบ่งชี้ของการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆ
2) ข้อแนะนำการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ซักประวัติ ทบทวน แฟ้มประวัติของผู้ป่วย ใบส่งตัว หรือใบบันทึกต่างๆ
3) ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
4) การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
2) ประวัติการผ่าตัด และการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้
5) ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับ ความรู้สึก
1) ประวัติโรคประจำตัว
6) ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย ซึ่งระยะเวลาก่อนผ่าตัด
1) ด้านร่างกาย
(1) ระบบหัวใจและหลอดเลือด
(2) ระบบทางเดินหายใจ
(3) ระบบทางเดินปัสสาวะ
(4) ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
(5) ภาวะสารน้ำและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
(6) การพักผ่อนและการออกกาลังกาย
(7) ให้คำแนะนาและข้อมูลต่างๆ
2) ด้านจิตใจ
ประเมินความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด
พยาบาลควรให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลจริง
ควรได้รับการเตรียมทางจิตใจทุกคน
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความรู้สึกที่กังวลออกมา
3) การให้คาแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
(1) Early ambulation
(2) Quadriceps Setting Exercise (QSE)
(3) Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
(4) Range of Motion (ROM)
(5) Deep-breathing exercises
(6) Effective cough
(7) Abdominal breathing
(8) Turning and ambulation
(9) Extremity exercise
(10) Pain management
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
5) การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
6) เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ
4) การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
(1) ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ของปลอมของมีค่าต่างๆถอดเก็บไว้ให้ญาติดูแลรักษา
สื่อไฟฟ้าต่างๆ ถอดออก
ให้ผู้ป่วยทาความสะอาดปาก ฟัน
ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้า ทาปาก ทาเล็บ
(2) ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดร่างกาย เปลี่ยนชุดสำหรับผ่าตัด หวีผม
เก็บผมให้เรียบร้อย นอนพักบนเตียงตลอดเวลาจนกว่าไปห้องผ่าตัด
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
7) แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย
3) การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
(7) ไต
(8) บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
(6) บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
(9) แขน ข้อศอก และมือ
(5) บริเวณช่องท้อง
(10) ตะโพกและต้นขา
(4) บริเวณทรวงอก
(11) การทำ Skin graft
(12) หัวเข่า
(3) บริเวณคอ
(13) ปลายขา
(2) บริเวณหูและปุ่มกระดูกมาสตอยด์
(14) เท้า
(15) ขั้นตอนการเตรียมผิวหนัง
ถ้าบริเวณที่เตรียมสกปรกมาก เช็ดด้วยเบนซิน ฟอกด้วยสบู่ ถ้าไม่
สกปรก ฟอกด้วยน้ำสบู่ธรรมดา ล้างด้วยน้ำให้สะอาด
โกนขน หรือผม ถ้าขนหรือผมนั้นยาวใช้กรรไกรตัดให้สั้นก่อน
ปูผ้ายางรองกันเปื้อนบริเวณที่จะเตรียมผ่าตัด
เมื่อโกนเสร็จใช้สบู่และน้ำล้างบริเวณนั้นให้สะอาด เช็ดให้แห้ง
บอกให้ผู้ป่วยทราบ กั้นม่าน
เก็บผมหรือขน ใบมีดโกนที่ใช้แล้วห่อใส่กระดาษ
เตรียมเครื่องใช้
การเตรียมเฉพาะที่อื่นๆ
(1) บริเวณศีรษะ
8) การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
2) การขับถ่าย
1) อาหารและน้ำดื่ม
9) การดูแลครอบครัวผู้ป่วย
10) การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
(1) เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจ CBC และ Blood group ทันที
(2) ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
(3) ทาความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดให้เรียบร้อย
(4) ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นใบยินยอมผ่าตัด
(5) ถ้าผู้ป่วยไม่มีญาติมาด้วย พยาบาลต้องถามหรือหาที่อยู่ของครอบครัว เบอร์ โทรศัพท์
(6) วัดและบันทึกอาการ สัญญาณชีพรวมทั้งการให้ยาก่อนผ่าตัด
(7) สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนการขับถ่าย
ประวัติการเสียเลือด สารน้ำทางปัสสาวะ การขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลังผ่าตัด
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
การทางานของไต
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด ประเมินการรับรู้
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
1) ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
2) การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
1) ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 4 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
2) สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆที่ออกจากร่างกายผู้ป่วย
3) ดูแลให้ได้รับสารน้ำ เลือด หรือพลาสมาทดแทนทางหลอดเลือดดำ ตาม แผนการรักษา
4) ควรให้ผู้ป่วยนอนพักนิ่งๆในบริเวณที่มีเลือดออกมากๆเพื่อลดการ เคลื่อนไหวซึ่งจะมีผลทำให้เลือดออกมากขึ้น
5) เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
6) สังเกต บันทึก ติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจโดยเฉพาะในรายที่มีการเต้น หัวใจผิดปกติ กล้ามเนื้อหัวใจตายหลังผ่าตัด
7) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ สงบ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย เพื่อลดอาการท้องอืด
2) ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
1) กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกออกจากเตียงหรือจัดท่านอน
3) สังเกตและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ถึงการย่อยและดูดซึมอาหาร ผิดปกติ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
1) ดูแลความสุขสบายทั่วไป
2) การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับความสะอาดของร่างกายทั่วไป
3) ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบหรือระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง และคงไว้ซึ่งการทำงานระบบหายใจ
2) สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
3) กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ และไออย่างมีประสิทธิภาพ
4) เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
5) กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองเพื่อเพิ่มกิจกรรมการเคลื่อนไหว
1) การจัดท่านอน
6) ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
7) สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น
8) ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์และให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
1) สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
2) สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ โดยเฉพาะแผลมีการติดเชื้อ
3) ทาความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
4) สอนและให้คาแนะนำเกี่ยวกับการดูแลแผล และวิธีการส่งเสริมการหายของแผล
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1) เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ และอาการแสดงของการติดเชื้อ
2) การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นข้อจากัดหลังผ่าตัด
3) การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย อาหารที่ควรรับประทานหรือควรงด การรับประทานยา การสังเกตอาการข้างเคียงของยาที่ได้รับ
4) การดูแลความสะอาดของร่างกาย
5) การมาตรวจตามแพทย์นัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1) ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
2) หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
3) ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
4) ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร และเฉียงปลายเท้าไปตามทิศทางที่ต้องการเคลื่อนย้าย
5) หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
6) ย่อเข่าและสะโพก
7) หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
8) ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
9) ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
10) ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแทนการเลื่อนผู้ป่วย
11) ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
12) ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปและให้สัญญาณขณะยก หรือใช้อุปกรณ์ที่ช่วยผ่อนแรงมาใช้เมื่อจำเป็น
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
1) ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
2) ทำที่เป็นข้อห้ามของผู้ป่วย
7) ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
3) ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
6) ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
4) ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
5) ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1) แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
2) นำหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็น
3) พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหว
4) พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
2) ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
3) ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
1) ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
4) ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
1) การเตรียมผู้ป่วย
2) การเตรียมตัวพยาบาล
3) การจัดท่าผู้ป่วย
(1) ท่านอนหงาย (Dorsal or Supine position)
(2) ท่านอนตะแคง (Lateral or Slide-lying position)
(3) ท่านอนคว่ำ (Prone position)
(6) ท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position)
(4) ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ (Semiprone position)
(5) ท่านั่งบนเตียง(Fowler’s position)
(9) ท่านอนศีรษะต่ำปลายเท้าสูง (Trendelenburg position)
(7) ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง (Lithotomy position)
(8) ท่านอนคว่าคุกเข่า (Knee-chest position)
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
3) กางและหุบข้อตะโพก เหยียดข้อเข่าและให้ข้อเท้างอเข้าหาปลายขา ยกขา ข้างที่ทำไปที่ข้างเตียงทั้งสองด้าน สลับทำกับขาอีกข้างหนึ่ง
2) หมุนข้อตะโพก เหยียดขาทั้งสองข้าง หมุนเข้าหาตัวและหมุนออกจากตัวแล้ว ให้หมุนขาทั้งสองข้างเข้าหาตัวจนนิ้วหัวแม่เท้าชนกัน
4) เหยียดข้อเข่า เหยียดขาพร้อมกับกดข้อเข่าลงกับที่นอน และยกส้นเท้าขึ้น จากเตียงสูงเท่าที่จะทำได้ สลับทากับขาอีกข้างหนึ่ง
5) งอข้อเท้า หมุนข้อเท้าเข้าหาตัวและออกจากตัว โดยวิธีหมุนข้อเท้าเป็น วงรอบตามเข็มนาฬิกาและหมุนทวนเข็มนาฬิกา
1) ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
6) งอและเหยียดนิ้วเท้า
7) เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพก ต้นขา โดยการเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้องแล้วคลาย ออก แล้วหายใจเข้าลึกๆ ให้กล้ามเนื้อหน้าท้องขยายมากที่สุด
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
1) การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
(1) กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว
(2) กรณีไม่ใช้เข็มขัด
2) การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอปุกรณ์ช่วยเดิน
2) Walker หรือ Pick – up frames
3) Cane มีหลายชนิด
1) Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
4) Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ายัน )
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
1) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
2) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
3) เพิ่มการพยุงตัว(Support)เพื่อให้สามารถทรงตัวได้(Balance)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
1) การฝึกความแข็งแรง (Strength) ความทนทาน (Endurance) และการ ประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ (Co – ordination)
2) การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright) บนเตียงหรือเบาะ
3) การฝึกในราวคู่ขนาน
รูปแบบการเดิน (Gait pattern)
1) Four – point gait
2) Two – point gait
3) Three – point gait
4) Swing – to gait
5) Swing – through gait
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status) ผู้ป่วยจะต้องลงน้ำหนักตามแผนการรักษา
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
1) ไม้ค้ำยันรักแร้ (Auxiliary crutches)
(1) การวัดขนาด
ในท่านอน
ในท่ายืน
(2) การสอนเดิน
Point gait
4–Pointgait
2–Pointgait
3–Pointgait
Swing gait
Swing-to gait
Swing-through gait
การเดินขึ้น – ลงบันได
2) Lofstrand crutch
(1) การวัดความยาว
ให้ผู้ป่วยถือ Lofstrand crutch โดยให้ปลายไม้ห่าง
จากนิ้วก้อยไปทางด้านข้าง 6 นิ้ว
เลื่อนปรับระดับไม้ เพื่อให้ระดับมือจับอยู่ในตาแหน่งที่เมื่อผู้ป่วย
จับแล้วข้อศอกงอ 20 – 30 องศา
(2) การสอนเดิน
เดิน Point gait
เดิน Swing gait ไม่ได้
การเดินขึ้นลงบันไดก็เช่นเดียวกับ Axillary crutche
3) Platform crutch
(1) การวัดความยาวของ
ให้ผู้ป่วยถือ Platform crutch โดยให้ปลายไม้ห่างจากนิ้วก้อยไปทางด้านข้าง 6 นิ้ว
เลื่อนปรับระดับไม้ เพื่อให้
แผ่นรองรับท่อนแขนส่วนปลาย อยู่ในระดับที่ข้อศอกงอ 90 องศา
(2) การสอนเดิน
เช่นเดียวกับ Auxiliary crutches
4) ไม้เท้า (Cane)
(1) การวัดความยาว
ผู้ป่วยถือ regular cane ในมือด้านตรงข้ามกับขาที่มีปัญหาโดยให้ปลายไม้ห่างจากปลายนิ้วก้อยไปทางด้านข้าง 6 นิ้ว
ปรับความยาวไม้ ให้มือจับอยู่ในระดับเดียวกับ Greater trochanter หรือจับแล้วข้อศอกงอ 20 – 30 องศา
(2) การสอนเดิน
ให้ผู้ป่วยถือ Regular cane ในมือด้านตรงข้ามกับขา ข้างที่มีปัญหา
(3) รูปแบบการเดิน
เดินบนพื้นราบ
3-Point gait
2-Point gait
เดินขึ้น – ลงบันได
5) ไม้เท้า 3 ขา (Tripod cane)
(1) การวัดความยาว
ให้ผู้ป่วยถือไม้เท้าในมือด้านตรงข้าม
กับขาที่มีปัญหา
ให้แกนกลางไม้ห่างจากนิ้วก้อยของเท้าไปทางด้านข้าง 6 นิ้ว และขาทั้ง 3 อยู่ทางด้านนอก
ปรับความยาวไม้ให้มือจับอยู่ในระดับ Greater trochanter หรือให้ข้อศอกงอ 20-30องศา
(2) การสอนเดิน
เดินบนทางราบ : เช่นเดียวกับไม้เท้าขาเดียว
6) Walker
(1) การวัดความสูง
ให้ผู้ป่วยยืน ให้เท้า 2 ข้างอยู่ ตรงกับระดับขาหลังของ Walker ความสูงของ Walker
ระดับมือจับตรงกับ Greater
trochanter หรือ จัดแล้วข้อศอกงอ 20 –30องศา
(2) การสอนเดิน
เวลายกและวาง Walker บนพื้น จะต้องให้ทั้ง 4 ขา ถึงพื้น
พร้อมกันเพื่อให้มีความมั่นคง
(3) แบบแผนการเดิน
ยก Walker ไปด้านหน้า ห่างประมาณ 1 ช่วงแขน
ยกขาด้านที่มีปัญหาก้าวไปจนถึงระดับขาหลัง
ก้าวขาข้างที่ดีตามไปถึงระดับเดียวกัน พร้อมกับยันน้าหนักตัวลงบนแขน 2 ข้าง
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise)
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
(Passive exercise)
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น
(Resistive exercise)
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทาเอง
(Active or Isotonic Exercise)
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
1) หัวใจทางานมากขึ้น
2) มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
3) เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ (Thrombus)
4) ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension)
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
4) อาการปวดหลัง (Back pain)
3) กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
2) การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
1) กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
ระบบทางเดินปัสสาวะ
2) มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis)
3) เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Renal Calculi)
1) การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทาให้เกิดแผลกดทับ
(Bed sore or Pressure sore or Decubitus ulcer)
3) การเสียดทาน (Friction)
4) แรงดึงรั้ง (Shearing force)
2) เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
1) เกิดแรงกดทับ (Pressure)
ระบบทางเดินหายใจ
1) ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion)
2) มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
1) มีผลต่อการรับประทานอาหาร
2) มีผลต่อการขับถ่าย
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
2) มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง (Hypoproteinemia)
3) มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์(Self concept and
Body image)
1) การเผาผลาญอาหารลดลง
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ปุวยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก
เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
ประเมินระดับความวิตกกังวล