Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกาลั…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย
5.1 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
3) ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
4) การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
2) ประวัติการผ่าตัด
5) ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติ
1) ประวัติโรคประจำตัว
6) ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
การตรวจร่างกาย
2) การชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง
3) การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
1) สัญญาณชีพ
4) การตรวจร่างกายตามระบบ เน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อบ่งชี้ของการส่งตรวจ
Urinalysis
Electrolytes
Complete blood count
BUN/Creatinine
Blood sugar
Liver function tests
Coagulogram
Chest X-ray
ECG
ข้อแนะนาการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อายุ> 60 ปี แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว
CBC CXR ECG E’lytes BUN/Cr BS
ผู้ปุวยที่มารับการผ่าตัดใหญ่
CBC CXR ECG E’lytes BUN/Cr BS Coag
อายุ> 45 ปี แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว
CBC CXR ECG
อายุ≤ 45 ปี แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว
CBC
การเตรียมผู้ปุวยก่อนวันที่ผ่าตัด
1) อาหารและน้าดื่ม
ควรงดอาหารผู้ปุวยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
ถ้าผู้ปุวยปากแห้ง ให้ผู้ปุวยบ้วนปากบ่อยๆ
ถ้าผู้ปุวยได้รับอาหารหรือน้าเข้าไปในระยะเวลาที่ห้ามนี้ ต้องรีบรายงานให้แพทย์ทราบทันที
2) การขับถ่าย
ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็กแพทย์อาจให้สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้
ถ้าเป็นการผ่าตัดใหญ่งแพทย์จะให้มีการสวนอุจจาระก่อนผ่าตัด
เมื่อจะเข้าห้องผ่าตัดโดยให้ผู้ปุวยถ่ายปัสสาวะก่อนผ่าตัด หรือคาสายสวนปัสสาวะไว้ตามแผนการรักษา
3) การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
การเตรียมความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด เพื่อเป็นการลดจานวนจุลินทรีย์
การเตรียมบริเวณที่จะผ่าตัดต้องเตรียมให้กว้างกว่าบริเวณที่จะผ่าตัดจริง กาจัดขน และสิ่งสกปรกต่างๆ
ถ้าผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดมีเม็ดผื่นหรือมีการติดเชื้อเกิดขึ้น แพทย์อาจต้องเลื่อนการผ่าตัดออกไปจนกระทั่งการติดเชื้อนั้นหายไป
5.2 การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
ประวัติการได้รับและสูญเสียสารน้าและเกลือแร่ชนิดและปริมาณของสารน้าที่ได้รับและออกจากร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร
การรับรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและการเรียนรู้การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
แบบแผนการขับถ่าย
ประวัติการเสียเลือด สารน้ำทางปัสสาวะ การขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลังผ่าตัด
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
การทำงานของไต
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ประเมินความรู้ความเข้าใจ และ
การยอมรับในการผ่าตัดที่เกิดขึ้น
ความร่วมมือในการปฏิบัติการรักษาพยาบาล และการปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริม ฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของตนเอง
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
ประเมินการรับรู้ และวิธีการ
เปลี่ยนแปลงความเครียด สังเกตพฤติกรรมตอบสนองต่อความเครียด
5.2.2 กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทางานของระบบหัวใจและไหลเวียน
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ปุวย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
การให้คำแนะนาก่อนกลับบ้านสาหรับผู้ปุวยหลังผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1) ด้านร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะสารน้ำและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกาย
การพักผ่อนและการออกกำลังกาย
ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ
2) ด้านจิตใจ
ประเมินความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด
เพื่อช่วยลดความวิตกกังวล
การเยี่ยมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความรู้สึกที่กังวลออกมา
3) การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
Quadriceps Setting Exercise (QSE)
Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
Early ambulation
Range of Motion (ROM)
Deep-breathing exercises
Effective cough
Abdominal breathing
Turning and ambulation
Extremity exercise
Pain management