Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
3 แบบแผนการขับถ่าย ควรประเมินในเรื่องต่อไปนี้
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
การทางานของไต
ประวัติการเสียเลือด สารน้าทางปัสสาวะ การขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลังผ่าตัด
4 แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
2 แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
5 แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
1 แบบแผนกิจกรรมและการออกกาลังกาย
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
2 กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
4 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ปุวยลุกออกจากเตียง
ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
สังเกตและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้
5 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
2) การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
3) ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบ
1) ดูแลความสุขสบายทั่วไป
3 การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด โดยพยาบาลประเมิน
6 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
2) สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ โดยเฉพาะแผลมีการติดเชื้อ
3) ทาความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
1) สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
4) สอนและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการดูแลแผล
2 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทางานของระบบหัวใจและไหลเวียน
ควรให้ผู้ปุวยนอนพักนิ่งๆ
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จาเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
ดูแลให้ได้รับสารน้า เลือด
สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจ
สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆที่ออกจากร่างกายผู้ปุวย
ดูแลให้ผู้ปุวยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
ตรวจวัดสัญญาณชีพทึก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่าเสมอ
7 การให้คาแนะนาก่อนกลับบ้านสาหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
3) การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ปุวย
4) การดูแลความสะอาดของร่างกาย
2) การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นข้อจากัดหลังผ่าตัด
5) การมาตรวจตามแพทย์นัด
1) เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ และอาการแสดงของการติดเชื้อ
1 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
กระตุ้นให้ทากิจวัตรประจาวันด้วยตนเอง
กระตุ้นให้ผู้ปุวยหายใจเข้าออกลึกๆ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
การจัดท่านอน
ถ้าผู้ปุวยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์และให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
2 การเคลื่อนไหวร่างกาย
การเคลื่อนไหวร่างกายใดๆ ในชีวิตประจาวัน
การออกกำลังกาย
การเข้าร่วมเล่นกีฬา
การทำงานบ้าน
การเคลื่อนไหวได้อย่างถูกต้องทาให้เกิดผลดีต่อร่างกาย
2 ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
3 ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
1 ส่งเสริมและสนับสนุนการทางานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
3 ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
3 ระบบหัวใจและหลอดเลือด
2) มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
3) เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดา (Thrombus)
1) หัวใจทำงานมากขึ้น
4) ความดันต่าขณะเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension)
4 ระบบทางเดินหายใจ
1) ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion)
2) มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
2 ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
2) การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
3) กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
1) กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
4) อาการปวดหลัง (Back pain)
5 ระบบทางเดินอาหาร
1) มีผลต่อการรับประทานอาหาร
2) มีผลต่อการขับถ่าย ทาให้ท้องผูก (Constipation)
1 ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทาให้เกิดแผลกดทับ
2) เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
3) การเสียดทาน (Friction)
4) แรงดึงรั้ง (Shearing force)
1) เกิดแรงกดทับ (Pressure)
6 ระบบทางเดินปัสสาวะ
2) มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis)
3) เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Renal Calculi)
1) การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
7 ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
2) มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่าลง (Hypoproteinemia)
3) มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์
1) การเผาผลาญอาหารลดลง
1 การออกกำลังกาย
3 การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ปุวยทาร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น
4 การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทางานแต่ข้อไม่เคลื่อน
2 การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทาให้ผู้ปุวย (Passive exercise)
5 การออกกาลังกายให้ผู้ปุวยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)
1 การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ปุวยก่อนและหลังผ่าตัด
2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1 วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
2 วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
3 การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
3 ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ปุวยและญาติ
4 ดูแลความสุขสบายทั่วไป
2 เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
5 จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ปุวยและให้ผู้ป่วยได้พัก
1 ประเมินระดับความวิตกกังวล
6 รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ความยินยอมที่จะเข้ารับการผ่าตัด
ความรู้เกี่ยวกับโรคและการผ่าตัด
การปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
3 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
1 การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
2) หมุนข้อตะโพก
3) กางและหุบข้อตะโพก
1) ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
4) เหยียดข้อเข่า
5) งอข้อเท้า
6) งอและเหยียดนิ้วเท้า
7) เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพก ต้นขา
2 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
1) การช่วยเหลือผู้ปุวยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน ปฏิบัติดังนี้
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว
กรณีไม่ใช้เข็มขัด
2) การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน
4 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
3 การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
1) การฝึกความแข็งแรง (Strength) ความทนทาน (Endurance)
2) การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright) บนเตียงหรือเบาะ
3) การฝึกในราวคู่ขนาน
4 การลงน้าหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status)
2 ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
2) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
3)เพิ่มการพยุงตัว (Support)
1) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
5 รูปแบบการเดิน (Gait pattern)
2) Two – point gait
3) Three – point gait
1) Four – point gait
4) Swing – to gait
5) Swing – through gait
1ชนิดของอปุกรณ์ช่วยเดิน
2) Walker หรือ Pick – up frames
3) Cane
1) Parallel bar
4) Crutches
6 วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
2) Lofstrand crutch
การวัดความยาว
การสอนเดิน
3) Platform crutch
การวัดความยาวของ Platform crutch
การสอนเดิน เช่นเดียวกับ Auxiliary crutches
1) ไม้ค้ายันรักแร้ (Auxiliary crutches)
การวัดขนาด
ท่านอน
ท่ายืน
การสอนเดิน
Point gait
Swing gait
4) ไม้เท้า (Cane)
(2) การสอนเดิน ควรให้ผู้ปุวยถือ Regular cane
(3) รูปแบบการเดิน
(1) การวัดความยาวของไม้เท้าที่เหมาะสม
5) ไม้เท้า 3 ขา (Tripod cane)
การวัดความยาวของไม้เท้า 3 ขา
การสอนเดิน เดินบนทางราบ
6) Walker จะให้ Support มากที่สุด
การสอนเดิน
แบบแผนการเดิน
การวัดความสูงของ Walker ที่เหมาะสม
1 การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
2 ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
2) การเตรียมตัวพยาบาล
3) การจัดท่าผู้ป่วย
ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ
ท่านั่งบนเตียง
ท่านอนคว่ำ
ท่านอนหงายชันเข่า
ท่านอนตะแคง
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง
ท่านอนหงาย
ท่านอนคว่ำคุกเข่า
ท่านอนศีรษะต่าปลายเท้าสูง
1) การเตรียมผู้ป่วย
1 การประเมินผู้ป่วย
2) ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ปุวยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
3) ความยากลาบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่า
1) ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
4) ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ปุวย เช่น ความผิดปกติเกี่ยวกับผิวหนัง กระดูก
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1 การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
2 การตรวจร่างกาย
2) การชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง
3) การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
1) สัญญาณชีพ
4) การตรวจร่างกายตามระบบ
3 การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) ข้อบ่งชี้ของการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆ
2) ข้อแนะนาการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Screening tests)
1 การซักประวัติ
2) ประวัติการผ่าตัด
3) ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
1) ประวัติโรคประจาตัว
4) การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
6) ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
5) ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติ
2 การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1 การเตรียมผู้ป่วย ซึ่งระยะเวลาก่อนผ่าตัด
2) ด้านจิตใจ
การเยี่ยมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ประเมินความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด
เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยได้แสดงความรู้สึกที่กังวลออกมา
3) การให้คำแนะนาการปฏิบัติหลังผ่าตัด
Deep-breathing exercises
Effective cough
Range of Motion (ROM)
Abdominal breathing
Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
Turning and ambulation
Quadriceps Setting Exercise (QSE)
Extremity exercise
Early ambulation
Pain management
1) ด้านร่างกาย
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
ภาวะสารน้าและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การพักผ่อนและการออกกาลังกาย
ระบบทางเดินหายใจ
ให้คาแนะนาและข้อมูลต่างๆ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
2 การเตรียมผู้ปุวยก่อนวันที่ผ่าตัด
5) การให้ยาแก่ผู้ปุวยก่อนผ่าตัด แพทย์มักจะให้ยาในคืนวันก่อนผ่าตัด
6) เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ
4) การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป จะมีการเตรียมดังนี้
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
7) แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย
3) การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
แขน ข้อศอก และมือ
ไต
ตะโพกและต้นขา
บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
การทา Skin graft
บริเวณช่องท้อง
หัวเข่า
บริเวณทรวงอก
ปลายขา
บริเวณคอ
เท้า
ขั้นตอนการเตรียมผิวหนัง
บริเวณศีรษะ
9) การดูแลครอบครัวผู้ป่วย
2) การขับถ่าย
8) การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด ให้ผู้ปุวยนอนบนรถนอน (Stretcher)
1) อาหารและน้ำดื่ม
10) การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน