Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
ประวัติโรคประจำตัว ควรครอบคลุมถึงอาการ
ประวัติการผ่าตัด และการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับ ความรู้สึก
ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
การตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
การตรวจร่างกายตามระบบ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการซักประวัติ
สามารถใช้เป็น Screening tests
ช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรค
บอกถึงความ รุนแรงของโรค
การส่งตรวจเพิ่มเติมควรพิจารณาอย่างเหมาะสมสาหรับผู้ปุวยแต่ละราย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประเมินความสามารถในการทำงาน ของหัวใจ และหลอดเลือด
ดูความสามารถในการส่งเลือดไปเลี้ยงทั่วทั้งร่างกาย
ประเมินปริมาณและคุณภาพของเลือด
ระบบทางเดินหายใจ ต้องประเมินสภาวะของปอดและหลอดลม
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมินสภาวะของไต
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
ภาวะสารน้ำและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
การพักผ่อนและการออกกาลังกาย
ให้คำแนะนาและข้อมูลต่างๆ ที่ผู้ปุวยควรทราบเพื่อลดความวิตกกังวล
ด้านจิตใจ
ประเมินความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความรู้สึกที่กังวลออกมา
ช่วยลดความวิตกกังวล ความกลัวต่างๆ
การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
Early ambulation
ช่วยในการลุกเดิน
Quadriceps Setting Exercise (QSE)
การรออกกาลังกายกล้ามเนื้อ
Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
การออกกาลังขา ข้อสะโพก และกล้ามเนื้อต้นขาแบบยกขาขึ้นตรงๆ
Range of Motion (ROM)
การออกกำลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหวในทุกทิศทางปกติของข้อต่าง ๆ
Deep-breathing exercises
จัดผู้ปุวยให้อยู่ในท่านอนหงายศีรษะ สูง วางมือทั้ง 2 ข้างบนหน้าอกส่วนล่าง แล้วให้กามือหลวมๆ
Effective cough
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย
Abdominal breathing
หายใจเข้าออกโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องแทนทรวงอก
Turning and ambulation
พลิกตัวไปทางขวา ให้ขยับตัวไปทางซ้าย ใช้มือซ้ายจับราวกั้นเตียงซ้าย แล้วพลิกมาทางขวา
Extremity exercise
ให้ผู้ป่วยนอนในท่าหัวสูงเล็กน้อยหรือนอนในท่าที่สบาย
Pain management
หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะได้รับการระงับความเจ็บปวด
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
อาหารและน้ำดื่ม
ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
อาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
การขับถ่าย
ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็กแพทย์อาจให้สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้
ถ้าเป็นการผ่าตัดใหญ่แพทย์จะให้มีการสวนอุจจาระก่อนผ่าตัด
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
บริเวณศีรษะ
โกนผมบริเวณศีรษะออก
เช็ดใบหู
ทำความสะอาดช่องหู
บริเวณหูและปุ่มกระดูกมาสตอยด์
เตรียมบริเวณกว้างเป็นวงรอบออกไป
จากหูประมาณ 1 – 2 นิ้ว โกนขนอ่อน ที่ใบหูด้วย
บริเวณคอ
เตรียมบริเวณจากใต้คางลงมาถึง ระดับราวหัวนม และจากหัวไหล่ข้างขวาถึงข้างซ้าย
บริเวณทรวงอก
เตรียมด้านหน้าจากคอตอนบน จนถึงระดับสะดือจากแนวยาวของหัวนมข้างที่ไม่ได้ทำผ่าตัดไปจนถึงกึ่งกลางหลังของข้างที่ทำ
บริเวณช่องท้อง
บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
เตรียมบริเวณตั้งแต่ ระดับราวนมลงมาถึงต้นขา รวมทั้งบริเวณฝีเย็บ
ไต
เตรียมด้านหน้าจากบริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และต้นขา ทั้ง 2 ข้าง ด้านข้างจากรักแร้ถึงสะโพก ด้านหลังจากแนวกึ่งกลางลำตัวด้านหน้าอ้อมไปจนถึงกระดูกสันหลัง ซีกของ ไตข้างที่จะทำการผ่าตัดนั้น
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
แขน ข้อศอก และมือ
สะโพกและต้นขา
การทำ Skin graft ทำความสะอาดผิวหนังทั้งบริเวณ Donor site และ Recipient site ให้กว้าง
หัวเข่า
ปลายขา
เท้า
ขั้นตอนการเตรียมผิวหนัง
เตรียมเครื่องใช้
ถาดสี่เหลี่ยม 1 ใบ
มีดโกนหนวดพร้อม
ใบมีดที่คมและสะอาด 1 อัน
กรรไกร
ผ้าก๊อส 2-3 ชิ้น
กระดาษรองขนหรือผม
ผ้ายางรองกันเปื้อน
สบู่ใส่ชามกลม
น้าสบู่ เหยือกบรรจุน้าอุ่น 1 ใบ ชามรูปไต
บอกให้ผู้ป่วยทราบ กั้นม่าน ดูให้มีแสงสว่างเพียงพอ
ปูผ้ายางรองกันเปื้อนบริเวณที่จะเตรียมผ่าตัด
บริเวณที่เตรียมสกปรกมาก ให้เช็ดด้วยเบนซินแล้วฟอกด้วยสบู่
เมื่อโกนเสร็จใช้สบู่และน้าล้างบริเวณนั้นให้สะอาด เช็ดให้แห้งด้วยผ้าสะอาด
เก็บผมหรือขน
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดปาก
ของปลอมของมีค่าต่างๆถอดเก็บไว้ให้ญาติดูแลรักษา
สื่อไฟฟ้าต่างๆ เช่น กิ๊บที่ทำด้วยโลหะ ที่คาดผมที่ทำด้วยโลหะให้ถอดออก
ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้า
ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดร่างกาย
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
แพทย์มักจะให้ยาในคืนวันก่อนผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ
แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ
ส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด ให้ผู้ป่วยนอนบนรถนอน (Stretcher) ห่มผ้าให้เรียบร้อย
การดูแลครอบครัวผู้ป่วย พยาบาลต้องแจ้งให้ครอบครัวทราบถึงเวลาที่ผู้ป่วยจะ เข้าห้องผ่าตัด
การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อตรวจปัสสาวะ
เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจ CBC และ Blood group ทันที
ทำความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดให้เรียบร้อย
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นใบยินยอมผ่าตัด
ถ้าผู้ป่วยไม่มีญาติมาด้วย พยาบาลต้องถามหรือหาที่อยู่ของครอบครัว
วัดและบันทึกอาการ
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกาลังกาย
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง และคงไว้ซึ่งการทางานระบบหายใจ ภายหลังการผ่าตัดระยะแรก
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทางานของระบบหัวใจและไหลเวียน ปัญหาด้าน ระบบไหลเวียนที่พบบ่อยหลังผ่าตัด ได้แก่ การเกิดความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตต่า และภาวะหัวใจเต้น ผิดปกติ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด โดยพยาบาลประเมิน ความเจ็บปวดของผู้ปุวยโดยใช้ Pain scale ดูและให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ปุวย เพื่อลดอาการท้องอืด แน่น ท้อง คลื่นไส้ อาเจียน และส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
การให้คาแนะนาก่อนกลับบ้านสาหรับผู้ปุวยหลังผ่าตัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
หมายถึง
การช่วยบุคคลที่ด้อยสมรรถภาพ ทางกาย จิตใจ บุคคลที่เจ็บปุวยเรื้อรัง หรือบุคคลที่อยู่ในระยะพักฟื้น ได้ตระหนักถึงสมรรถภาพของตนเองที่ยัง เหลืออยู่
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย พยาบาลจะให้การช่วยเหลือผู้ป่วยนั้นควรทราบข้อมูลต่างๆ ของผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
เตรียมผู้ป่วย ให้เอาหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออกวางหมอนไว้ที่พนักหัวเตียง
จัดท่าผู้ป่วย
เตรียมตัวพยาบาล พยาบาลควรยืนในท่าที่ถูกต้อง พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร และเฉียงปลายเท้าไปตามทิศทางที่ต้องการเคลื่อนย้าย และอยู่ในสมดุลเมื่อต้องการเคลื่อนไปทางหัวเตียงหรือปลายเตียง
หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
ย่อเข่าและสะโพก
หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแทนการเลื่อนผู้ป่วย
ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
ผู้ปุวยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปและให้สัญญาณขณะยก หรือใช้อุปกรณ์ที่ช่วยผ่อนแรงมาใช้เมื่อจำเป็น
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
แจ้งให้ผู้ปุวยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
นำหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นเอาออกจากเตียง
พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหวร่างกาย
พยุงผู้ปุวยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกาลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
ใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว
ไม่ใช้เข็มขัด
ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วย มือไกลตัว จับที่ปลายแขนของผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ปุวยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน ให้พยาบาลยืนข้างผู้ป่วยคน ละด้าน มือพยาบาลข้างใกล้ตัวผู้ป่วยสอดใต้รักแร้ผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอปุกรณ์ช่วยเดิน
Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
Walker หรือ Pick – up frames
Cane
Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ายัน )
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนัก
เพิ่มการพยุงตัว (Support)เพื่อให้สามารถทรงตัวได้(Balance)
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise) ผู้ปุวย จะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทาให้ผู้ป่วย (Passive exercise) เป็นการออก กำลังกายโดยการเคลื่อนไหวข้อต่างๆ ให้กับผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายด้วยตนเองได้หรือมีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหว
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise) วิธีนี้ให้ผลดีกว่าวิธีที่ให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย เพราะเป็นการกระตุ้นให้กล้ามเนื้อมีการทำงานร่วมด้วย
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทางานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise) เพื่อเพิ่มความตึงตัวและแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ปูองกันกล้ามเนื้อลีบ
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise) เป็นการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ให้ผู้ป่วยออกแรงต้าน วิธีนี้ช่วยให้กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่ขึ้น มีความแข็งแรง และทำงานได้ดี
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทางานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทาให้เกิดแผลกดทับ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
กรณีตัวอย่าง ผู้ป่วยต้องเข้ารับการผ่าตัดช่องท้อง ไม่เคยมีประสบการณ์การผ่าตัดมาก่อน สอบถามพยาบาลเกี่ยวกับการผ่าตัดบ่อยครั้ง นอนกระสับกระส่าย และเข้าห้องน้าปัสสาวะบ่อย
การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จาเป็นเพื่อนาไปสู่การวางแผนการพยาบาล เช่น การปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ ไม่มีอันตรายและภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการผ่าตัด พยาบาลจะต้องตระหนักถึงปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย และเตรียมผู้ป่วยให้พร้อม
ประเมินระดับความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล