Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
เพื่อช่วยบอกถึงโรคหรือความผิดปกติที่อาจไม่ได้ข้อมูลจากการซักประวัติ
แนวทางในการส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ หรือการส่งตรวจอื่นๆ
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
สัญญาณชีพ
การตรวจร่างกายตามระบบ โดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
โรคหรือบริเวณที่จะทาการผ่าตัด
เป็นการประเมินผู้ปุวยเพิ่มเติมจากการซักประวัติ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการซักประวัติ
และตรวจร่างกาย
ช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรค บอกถึงความ รุนแรงของโรค
ข้อบ่งชี้ที่ต้องการตรวจหาและสภาพผู้ป่วย
ข้อบ่งชี้ของการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆ
ข้อแนะนาการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Screening tests)
การซักประวัติ
ประวัติการผ่าตัด และการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้า
ครอบคลุมถึงวิธีการให้ยาระงับความรู้สึก
และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
มึความสำคัญในการเตรียมพร้อมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
ประวัติโรคประจำตัว
ควรครอบคลุมประวัติการรักษา ยาที่ใช้ประจำ
ควรครอบคลุมถึงอาการ ความรุนแรงของโรค
ภาวะแทรกซ้อนของโรค
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่เกี่ยวกับการได้รับยาระงับ ความรู้สึก โรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
การขับถ่าย ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็ก หรือการผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่องท้อง แพทย์อาจให้สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
บริเวณศีรษะ
บริเวณหูและปุ่มกระดูกมาสตอยด์
บริเวณคอ
บริเวณทรวงอก
บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
บริเวณช่องท้อง
ไต
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
ตะโพกและต้นขา
การทำ Skin graft
ขั้นตอนการเตรียมผิวหนัง
หัวเข่า ปลายขา เท้า
อาหารและน้ำดื่ม ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สำหรับอาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย
การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ
การดูแลครอบครัวผู้ป่วย
การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
ด้านร่างกาย ภาวะสมดุลทางด้านร่างกายก่อนผ่าตัดมีความสาคัญเท่าๆ กับความสมดุลทางด้านจิตใจ เพื่อปูองกันหรือลดความผิดปกติ
ด้านจิตใจ ผู้ป่วยและครอบครัวส่วนใหญ่จะมีความวิตกกังวลเมื่อรู้ว่าตนเอง หรือบุคคลในครอบครัวต้องผ่าตัด ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด
ควรได้รับการเตรียมทางจิตใจทุกคน
การให้คำแนะนาการปฏิบัติหลังผ่าตัด รวมทั้งการฝึกทักษะการปฏิบัติตัวในระยะหลังผ่าตัด เพื่อทำให้การพักฟื้นหลังผ่าตัดเร็วขึ้น และช่วยป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ที่อาจเกิดขึ้นได้
การให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
Quadriceps Setting Exercise (QSE)
เป็นการออกกำลังกายกล้ามเนื้อต้นขา
Straight Leg Raising Exercise (SLRE) เป็นการออกกำลังขา
ข้อสะโพก และกล้ามเนื้อต้นขาแบบยกขาขึ้นตรงๆ
Early ambulation ช่วยในการลุกเดิน
Range of Motion (ROM) เป็นการออกกำลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหวใน ทุกทิศทางปกติของข้อต่าง ๆ
Deep-breathing exercises โดยจัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงาย
ศีรษะสูงวางมือทั้ง 2 ข้างบนหน้าอกส่วนล่าง แล้วให้กำมือหลวมๆ
ให้นิ้วมือสัมผัสกับหน้าอก เพื่อจะได้รู้สึกการ เคลื่อนไหวของปอด
Effective cough โดย จัดให้ผู้ปุวยอยู่ในท่านั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย
ให้ผู้ปุวยประสานมือทั้ง 2 ข้าง และกดเบาๆเหนือบริเวณที่คิดว่าจะมี
แผลผ่าตัด ช่วยทำให้แผลอยู่นิ่ง
Turning and ambulation ควรทำทุก 2 ชั่วโมง
Extremity exerciseให้ผู้ป่วยนอนในท่าหัวสูงเล็กน้อย
หรือนอนในท่าที่ สบาย
Pain management หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะได้รับการระงับ
ความเจ็บปวดด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง และคงไว้ซึ่งการทำงาน
ระบบหายใจภายหลังการผ่าตัดระยะแรก
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
การให้คำแนะนพก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด ประเมินการรับรู้
และวิธีการเปลี่ยนแปลงความเครียด
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกาลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมตัวพยาบาล
การจัดท่าผู้ป่วย
การเตรียมผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย พยาบาลจะให้การช่วยเหลือผู้ป่วยนั้น
ควรทราบข้อมูลต่างๆของผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอปุกรณ์ช่วยเดิน
Walker หรือ Pick – up frames
Cane มีหลายชนิด
Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ายัน )
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
เพิ่มการพยุงตัว (Support)เพื่อให้สามารถทรงตัวได้(Balance)
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright) บนเตียงหรือเบา
การฝึกในราวคู่ขนาน
การฝึกความแข็งแรง (Strength) ความทนทาน (Endurance) และการ
ประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ (Co – ordination)
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status) ผู้ป่วยจะต้องลง น้ำหนักตามแผนการรักษา
รูปแบบการเดิน (Gait pattern)
Three – point gait
Swing – to gait
Two – point gait
Swing – through gait
Four – point gait
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ส่งเสริมและสนับสนุนการทางานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทาให้เกิดแผลกดทับ
(Bed sore or Pressure sore or Decubitus ulcer)
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise)
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทางานแต่ข้อไม่เคลื่อน
(Isometric or Static exercise)
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise)
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล
และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ปุวยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยระบายความรู้สึก
และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วย
และให้ผู้ป่วยได้พัก
ประเมินระดับความวิตกกังวล
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา