Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย💟💟💟 …
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย💟💟💟
5.กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวล
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ปุวยและญาติ
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ปุวยและให้ผู้ปุวยได้พัก
เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
1.การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1 การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ด้านจิตใจ
ด้านร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันผ่าตัดมีดังนี้
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
การขับถ่าย
อาหารและน้ำดื่ม
2.การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการขับถ่าย
ประวัติการเสียเลือด สารน้ าทางปัสสาวะ
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
การทำงานของไต
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
กิจกรรมพยาบาลหลังผ่าตัด
สังเกตการหายใจของผู้ปุวย
กระตุ้นให้ผู้ปุวยหายใจเข้าออกลึกๆ
การจัดท่านอน
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ัสังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
ถ้าผู้ปุวยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการท างานของระบบหัวใจและไหลเวียน
ตรวจวัดสัญญาณชีพทึก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 4 ครั้ง และทุก 1
ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ าเสมอ
สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
ควรให้ผู้ปุวยนอนพักนิ่งๆ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำเลือด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จ าเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจ
ดูแลให้ผู้ปุวยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ปุวย เพื่อลดอาการท้องอืด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
3.การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ปุวย
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ปุวยบนเตียง
การเตรียมผู้ปุวย
การเตรียมตัวพยาบาล
การจัดท่าผู้ปุวย
ท่านอนหงาย (Dorsal or Supine position)
ท่านอนตะแคง (Lateral or Slide-lying position)
ท่านอนคว่ า (Prone position)
ไม่ควรจัดให้นอนท่านี้ในผู้ปุวยที่ไม่รู้สึกตัว
ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ า (Semiprone position)
ท่านั่งบนเตียง (Fowler’s position) เ
ท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position)
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง (Lithotomy position)
ท่านอนคว่ าคุกเข่า (Knee-chest position)
ท่านอนศีรษะต่ าปลายเท้าสูง (Trendelenburg position) เ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ปุวย
การประเมินผู้ปุวยก่อนการเคลื่อนย้าย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ปุวย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
การช่วยเหลือผู้ปุวยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
Walker หรือ Pick – up frames
Walk cane
Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ ายัน )
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
เพิ่มการพยุงตัว (Support)
การเตรียมผู้ปุวยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
4.การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ปุวยทำเอง
ผู้ปุวย
จะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง
การออกก าลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ปุวย (Passive exercise)
พยาบาลหรือญาติช่วยผู้ปุวยในการยกแขน ขา ในผู้ปุวยรายที่เป็น
อัมพาตหรือไม่รู้สึกตัว
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ปุวยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น
การพยุงหรือช่วยเหลือผู้ปุวยในการลุก – นั่งข้างเตียง
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน
การกระตุ้นให้ออกกำลังกายโดยการเกร็ง
กล้ามเนื้อหน้าขา
การออกกำลังกายให้ผู้ปุวยออกแรงต้านกับแรงอื่น
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร