Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสืบค้น, image, image, image, image, image, image,…
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสืบค้น
ฐานข้อมูล (Database)
การนำแฟ้มข้อมูลหรือตารางต่างๆ ที่มี
ความสัมพันธ์กันมารวมอยู่ในที่เดียวกัน
สาขาวิชาเดียวกัน
รูปลักษณะเดียวกัน
ประเภทของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลอ้างอิงหรือบรรณานุกรม (Reference or Bibliographic Databases)
ฐานข้อมูลตัวเลข(Numberic Databases) หรือ ฐานข้อมูลสถิติ (Statistical Databases)
ฐานข้อมูลเนื้อหาสมบูรณ์ หรือฐานข้อมูลเต็มรูป (Full Text Databases)
ฐานข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Databases)
ฐานข้อมูลข้อเท็จจริง (Factual Databases)
ฐานข้อมูลมัลติมีเดีย (Multimedia Databases)
หลักเกณฑ์การเลือกใช้ฐานข้อมูล
ตรวจสอบขอบเขตเนื้อหาที่ครอบคลุมในฐานข้อมูล
ความน่าเชื่อถือของผู้แต่งหรือผู้จัดทำฐานข้อมูล โดยพิจารณาจากประสบการณ์การทำงานของหน่วยงาน หรือคุณวุฒิของผู้จัดทำฐานข้อมูล
ความแม่นยำ ถูกต้อง และครบถ้วนในการนำเสนอข้อมูล
ความทันสมัยของข้อมูลและระยะเวลาในการสืบค้นข้อมูลได้ย้อนหลัง
ค่าบริการในการใช้ฐานข้อมูล
ประสิทธิภาพในการจัดส่งข้อมูลของผู้จัดทำฐานข้อมูล
การสืบค้นข้อมูล
การสืบค้นด้วยมือ (Hand searching)
สืบค้นจากเอกสารอ้างอิง (Reference lists)
การติดต่อโดยตรงกับนักวิจัย (Personal communication)
การสืบค้นโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (ElectronicsDatabases) ต่างๆ
การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต (Internet database)
ขั้นตอนการสืบค้นข้อมูล
การสืบค้นจากแหล่งข้อมูลโดยตรงเข้าโปรเเกรม Web browser
รู้จักเครื่องมือสืบค้น (Search Tool) ในการใช้ Search Engine
คิดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการให้ชัดเจน
ก่อนที่จะทeการสืบค้นทุกครั้ง
ระบุแนวคิดหลักเพื่อกำหนดคำสำคัญ (Keyword)
การใช้สัญลักษณ์ตัวเชื่อมคำ (Operator)
การระบุคำสำคัญลงใน Search Box
แนวทางการประเมินคุณภาพของสารสนเทศจากการสืบค้น
การเปิดเผยข้อมูลผู้แต่ง แหล่งทุนและผู้พัฒนาเว็บ (Disclosure of author, sponsors,Developers)
เนื้อหา (content of site)
ความทันสมัย (currency of information)
ความน่าเชื่อถือและชื่อเสียงของแหล่งข้อมูล (authority of source)
รูปแบบหรือการออกแบบ (format or design)
ความคุ้มค่า
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการติดต่อสื่อสาร
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail)
Social Network หรือที่เรียกกันว่าสังคมออนไลน์
การสนทนาออนไลน์ผ่านข้อความ ข้อความเสียง
Voice Mail เป็นเทคโนโลยีที่ท าหน้าที่คล้ายกับเครื่องตอบรับโทรศัพท์อัตโนมัติ
กระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (Usenet)
การเข้าระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet)
บริการเกมออนไลน์ผ่านเครือข่ายระยะไกล
การประชุมทางไกล (Video conference)
การแพทย์ทางไกล (Telemedicine)
ขั้นตอนการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลตัวอย่าง
Google มี 3 ประเภท คือ Basic search , Advance search และ Scholar google
1.1 Basic search เป็นการค้นหาทั่วไปจะได้ข้อมูลที่หลากหลาย ไม่จำเพาะเจาะจง
1.2 Advance search เป็นการค้นหาที่สามารถจำกัดเขตข้อมูลได้ เช่น คำหรือวลีที่ตรงตามนี้ รูปแบบไฟล์
1.3 Scholar google เป็นการค้นหาข้อมูล บทความ งานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาต่างๆ
โดยข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นจะสามารถเชื่อมโยงไปยังฐานข้อมูลแหล่งที่มาของบทความ
ThaiLIS เป็นบริการสืบค้นฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มของวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยของ
อาจารย์จากมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วประเทศ
รูปแบบเอกสารที่ได้จะเป็นฉบับเต็มให้สามารถดาวน์โหลดได้
CINAHL Plus with Full Text เป็นแหล่งข้อมูลฉบับเต็มของวารสารการพยาบาลและสหเวช
ศาสตร์ที่ครอบคลุมเนื้อหากว้างที่สุดของโลก เป็นเครื่องมือการวิจัยที่น่าเชื่อถือสำหรับงานเขียนด้าน
การพยาบาลและสหเวชศาสตร์ทุกสาขา สามารถทำการสืบค้นได้ทั้งรูปแบบ
4.1 Basic search
4.2 Advance search
หากใช้บริการนอกเครือข่ายมหาวิทยาลัยพายัพสามารถท าการ login โดยใช้ User = Payapและ Password = library
ThaiJo หรือ Thai Journals Online เป็นระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของ
ประเทศไทย เป็นแหล่งรวมวารสารวิชาการที่ผลิตในประเทศไทยทุกสาขาวิชา
เมื่อใส่คำสำคัญที่ต้องการสืบค้นข้อมูล จะปรากฎบทความที่เกี่ยวข้องและแหล่งที่มาหรือแหล่งตีพิมพ์วารสารดังกล่าว