Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกาลังก…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลา
ความยากลาบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่า
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
ความผิดปกติเกี่ยวกับผิวหนัง กระดูก หลอดเลือด
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมตัวพยาบาล
การจัดท่าผู้ป่วย
การเตรียมผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบายหันหน้าผู้ป่วยไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้ายคนยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคงยืนแยกเท้าทั้ง 2 ข้างห่างกันพอสมควรหลังตรงป้องกันการปวดหลังย่อเข่าและสะโพกหาวิธีเหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยก ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแทนการเลื่อนผู้ป่วยให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพียง
ในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ควรหาผู้ช่วยตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปและให้สัญญาณขณะยก
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
พยาบาลต้องทราบชนิดของ
อุปกรณ์ช่วยเดิน
การลงน้าหนักที่ขาเวลาเดิน รูปแบบการเดิน และวิธีการฝึกผู้ปุวยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับผู้ป่วย
ให้กล้ามเนื้อมีความตึงตัว แข็งแรง และข้อเคลื่อนที่ได้ตามปกติ
การออกกาลังกายนั้นต้องไม่ทาให้ ผู้ป่วยเหนื่อย ควรทำแต่ละชนิด 3 ครั้ง และให้ทำวันละ 2 – 3 ครั้ง
การออกกาลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกาลังกาย
Active or Isotonic Exercise
การทำกิจวัตรประจาวันด้วยตนเอง
การให้ผู้ป่วยยกแขน ขา ขณะนอนอยู่บนเตียง กา
ผู้ป่วยจะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง
Passive exercise
ผู้ปุวยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายด้วยตนเองได้หรือมี
ข้อจากัดในการเคลื่อนไหว
พยาบาลหรือญาติช่วยผู้ปุวยในการยกแขน ขา ในผู้ปุวยรายที่เป็นอัมพาตหรือไม่รู้สึกตัว
Activeassistive exercise
การพยุงหรือช่วยเหลือผู้ปุวยในการลุก – นั่งข้างเตียง
เป็นการกระตุ้นให้กล้ามเนื้อมีการทางานร่วมด้วย
Isometric or Static exercise
เพื่อให้กล้ามเนื้อมีการหดรัดตัวชั่วระยะหนึ่ง
เพื่อเพิ่มความตึงตัวและแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันกล้ามเนื้อลีบ
ให้ผู้ปุวยเกร็งกล้ามเนื้อประมาณ 6 วินาทีแล้วจึงผ่อนคลาย
Resistive exercise
วิธีนี้ช่วยให้กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่ขึ้น
เป็นการกระตุ้นกล้ามเนื้อให้แข็งแรงเร็วขึ้น
เป็นการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ให้ผู้ป่วยออกแรงต้าน
การเคลื่อนไหวร่างกาย
กลไกการเคลื่อนไหวร่างกาย หมายถึง
การใช้ร่างกายอย่างปลอดภัยมีประสิทธิภาพ มีการประสานงานกันในการเคลื่อนไหวและดารงความสมดุลระหว่างการมีกิจกรรม
เกิดผลดีต่อร่างกาย
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ส่งเสริมและสนับสนุนการทางานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ปูองกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
เกิดแรงกดทับ
เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
การเสียดทาน
แรงดึงรั้ง
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก
อาการปวดหลัง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทางานมากขึ้น
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดาที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดา
ความดันต่าขณะเปลี่ยนท่า
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
ท้องผูก
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ และกระเพาะปัสสาวะสูญเสียหน้าที่
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญอาหารลดลง
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่าลง
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
ความรู้สึกของผู้ปุวยเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ความยินยอมที่จะเข้ารับการผ่าตัด
ความรู้เกี่ยวกับโรคและการผ่าตัด
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ปุวยและญาติ
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ปุวยได้พัก
ประเมินระดับความวิตกกังวล
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา