Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลัง…
บทที่5 การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การรรเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
ส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด ให้ผู้ป่วยนอนบนรถนอนและห่มผ้าให้ผู้ป่วยให้เรียบร้อย
(NPO) งดอาหารและน้ำดื่มอย่างน้อย 3 ชั่วโมง
แค่จิบน้ำก็ต้องบอกแพทย์ เพราะเมื่อทำการผ่าตัดอาจเกิดการสำลักเข้าไปทางเดินหายใจ แล้วไปที่ปอดจะทำให้ปอดติดเชื้อได้
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
ไต
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
แขน ข้อศอก และมือ
บริเวณช่องท้อง
สะโพกและต้นขา
บริเวณทรวงอก
ทำ skin graft
บริเวณคอ
หัวเข่า
บริเวณหูและกระดูกมาสตอยด์
ปลายขา
บริเวณศีรษะ
เท้า
โกนขนหรือผมบริเวณที่จะผ่าตัดแต่ต้องบอกผู้ป่วยให้ทราบก่อน
การขับถ่าย
ให้ถ่ายปัสสาวะก่อนผ่าตัด
บันทึกแผ่นรายงานให้ครบ
ดูแลครอบครัวผู้ป่วย
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆที่พิเศษ
เตรียมตัวรับมือกับผู้ป่วยฉุกเฉินทตรวจร่างกายให้ก่อนเข้ารับการผ่าตัด
ให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัดประมาณ45-90 นาที
การเตรียมผู้ป่วย
ด้านจิตใจ
เยี่ยมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ประเมินความวิตกกังวลก่อนนผ่าตัด
การให้คำแนะนำการปฎิบัติหลังผ่าตัด
Effective cough ไออย่างมีประสิทธิภาพ
Abdominal breathing หายใจโดยกล้ามเนื้อหน้าท้อง
Deep-breathing exercises ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจลึก
Turning and ambulation
ROM ออกกำลังกายข้อโดยมีการเคลื่อนไหวในทิศทางปกติของข้อต่างๆ
Extremity exerciise
SLRE ออกกำลังขา ข้อสะโพก และกล้ามเนื้อต้นขา
Pain management
QSE ออกกำลังกายกล้ามเนื้อต้นขา
Early ambulation สามารถลุกออกจากเตียงได้โดยเร็วหลังผ่าตัด
ด้านร่างกาย
ได้รับอาหารที่พอเหมาะ
สารน้ำและอิเล็คโทรลัต์ในร่างกาย
รบบทางเดินปัสสาวะ
การพักผ่อนและออกกำลังกาย
ระบบทางเดินหายใจ
แนะนำข้อมูลต่างๆ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
ตรวจประเมินระบบทางเดินหายใจ
สัญญาณชีพ
ตรวจร่างกายตามระบบ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Blood sugar
โรคเบาหวาน
Liver function tests
โรคตับ
BUN/Creatinine
ตรวจโรคไตวาย
Coagulogram
ตรวจดุการแข็งตัวของเลือด
Electrolytes
ดูความสมดุล
โรคไต โรคเบาหวาน ภาวะพร่องน้ำ ได้รับยาขับปัสสาวะ
ต้องตรวจทุกคน
Chest X-ray
โรคหัวใจ โรคปอด โรคมะเร็ง สูบบุหรี่ ไอเรื้อรัง ประวัติสัมผัสผู้ป่วยวัณโรค
Urinalysis
ตรวจทางเดินปัสสาวะ
ECG
อายุเกิน 35 ปี ต้องทำ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
โรคหัวใจ โรคปอด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
Complete blood count(CBC)
ต้องตรวจทุกแลป
ตรวจทุกคน
ตรวจความสมบูรณ์ของโรค
การซักประวัติผู้ป่วย
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติการผ่าตัด
ประวัติคนในครอบครัวเคยได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติโรคประจำตัว
ประวัติโรคของระบบต่างๆในร่างกาย
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนการขับถ่าย
การเปลี่ยนแปลงการขับถ่ายปัจจุบัน
การทำงานของไต
ประวัติการเสียเลือด (EDL)
แบบแผนการรับรู้และดูแลสุขภาพ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนปรับตัวและเผชิญกับความเครียด
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
การเปลี่ยนแปลงสัญญานชีพ
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมโภชนาการของผู้ป่วย
ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
สังเกตและบันทึกการเปลี่ยนแปลง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกจากเตียง
ส่งเสรริมดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากการผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
เปลี่ยนท่านอน แต่ในผู้ป่วยที่โดนยาสลบให้นอนในท่าศีรษะสูงและควรส่งเสริมให้ลุกและเดินได้โดยเร็ว
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตัวเอง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆและไออย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อน
การจัดท่านอน แต่รายที่ได้รับยาชาเข้าทางไขสันหลังให้นอนราบอย่างน้อย6-12ชั่วโมง
ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์
ส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือด
สังเกตบาดแผลและสารคัดหลั่งและประเมินผล
ดูแลตามแผนการรักษา
ตรวจสัญญานชีพ 15 นาที 4 ครั้ง ทุก30นาที 2 ครั้ง และทุก1 ชั่วโมงจนปกติ
ดูแลกายยและจิตใจผู้ป่วย
ให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านแก่ผู้ป่วย
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย
ความมั่นคงในการทรงตัว
ส่วนที่ต้องให้อยู่นิ่งๆ
ความสบายในการช่วยเหลือตนเอง
ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากแค่ไหน
วิธีการเคลื่อนย้าย
นำหมอนและอุปกรณ์ไม่จำเป็นออก
พยาบาลอยู่ในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและพยุงอย่างนุ่มนวล
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบ
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาล
ใช้ผ้าขวางเตียงเพื่อช่วยเคลื่อนย้าย
จัดท่าที่ผ่อนคลายในการย้านตัว
ให้สัญญานพร้อมเพรียงในการเคลื่อนย้าย
หันหน้าผู้ป่วยทิสทางที่จะย้าย
จัดให้นอนราบแบบสบาย
การช่วยเหลือผูุ้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
เหยียดข้อเข่า
งอข้อเท้า
กางและหุบข้อตะโพก
งอและเหยียดนิ้วข้อ
หมุนข้อตะโพก เหยียดขาทั้งสองข้าง
เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพก ต้นขา
ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินนโดยพยาบาล 1 คน
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว เมื่อผู้ป่วยลงจากเตียง พยาบาลเยื้องด้านหลังและใช้มือทั้ง2ข้างยืดเข็มขัดเพื่อพยุงผู้ป่วย
กรณีไม่ใช้เข็มขัด ถ้าผู้ป่วยเป็นลมให้สอดแขนเข้าทางรักแร้และแยกเท้ากว้าง แล้วดึงตัวผู้ป่วย โดยใช้สะโพกรับน้ำหนักตัวผู้ป่วยแล้วพยุงลงบนพื้น
การช่วยเหลือผู้ป่วยโดยพยาบาล 2 คน
ให้พยาบาลยืนข้างผู้ป่วยคนละด้าน และเอามือสอดเข้าใต้รักแร้ผู้ป่วย โดยมืออีกข้างจับปลายแขนผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
ความไม่สะดวกเวลาเปลี่ยนท่าให้
ท่าที่เหมาะสมและระยะเวลาในการเปลี่ยนท่า
ความผิดปกติของผิวหนีง ร่างกาย
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
ปฎิบัติพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมตัวพยาบาล ให้พยุงคนไข้อย่างนุ่มนวล
จัดท่านอนผู้ป่วย
ท่านั่งบนเตียง (Fowler's position)
ท่านอนหงายชันเข่า (DoRsal recumbent position)
ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ (Semiprone position)
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง (Lithotomy position)
ท่านอนคว่ำ (Prone position)
ท่านอนคว่ำคุกเข่า (Knee-chest position)
ท่านอนตะแคง (Lateral position)
ท่านอนศ๊รษะต่ำปลายเท้าสูง (Trendelenburg position)
ท่านอนหงาย (Supine position)
ให้เอาหมอนมาวางไว้ที่พนักหัวเตียง
การช่วยเหลือผุ้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
การเตรียมผู้ป่วยก่อนใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกในท่าตั้งตรงบนเตียงหรือเบาะ
การฝึกในราวคู่ขนาน
การฝึกความแข็งแรง ความทนทาน และการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ
ลงน้ำหนักเวลาเดิน
Partial weight bearing= เดินโดยลงน้ำหนักข้างที่เจ็บบางส่วน 20-50 %
Full weight bearing= เดินโดยลงน้ำหนักขาข้างที่เจ็บได้เต็มที่ 100%
Toe touch weight bearing=เดินโดยเอาปลายเท้าข้างที่เจ็บแตะพื้น 20%
weight bearing as tolerated= เดินโดยลงน้ำหนักขาข้างที่เจ็บเท่าที่ทนไหว
Non weight bearing = ไม่ลงนน้ำหนักขาข้างที่เจ็บ 0%
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเสริม
เพิ่มการพยุงตัว
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1หรือ 2 ข้าง เมื่อมีการห้ามรับน้ำหนักเต็มหรือมีการอ่อนแรงของขา
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเสริม
Walker
walk cane, Tripod cane, Quad cane, Stadard cane
Parallel bar
Crutches
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
Platform crutch
ไม้เท้า(cane)
Lofstrand crutch
ไม้เท้า3ขา(Tripod cane)
ไม้ค้ำยันรักแร้ (Auxiliary crutches)
รูปแบบการเดิน
Three-point
Two-point
Swing-to gait
Four-point gait
Swing-though gait
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
วินิจฉัยทางการพยาบาล
วางแผนการพยาบาลและให้การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วย
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความผิดปกติของกระดูกหรือกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นปกติ
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหาร
มีผลต่อการขับถ่าย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำ
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
หัวใจทำงานมากขึ้น
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า
ระบบทางเดินปัสสาวะ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและในกระเพาะปัสสาวะ
เกิดนิ่วในไตและในกระเพาะปัสสาวะ
ถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในช่วงแรก
ระบบผิวหนัง
เซลล์ตายและลุกลามเป็นแผล
การเสียดทาน
เกิดแรงกดทับ
แรงดึงรั้ง
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดต่ำลง
มีความผิดปกติของอัตมโนทัศน์
การเผาผลาญอาหารลดลง
ระบบกรดูกและกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การประสานของกล้ามเนื้อลดลง
มีอาการปวดหลัง
กระดูกผุ เปราะบาง
การออกกำลังกาย
ให้ผู้ป่วยช่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น การพยุงการลุก-นั่ง ข้างเตียง
ใช้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน โดยการเกร็งกล้ามเนื้อหน้าขา
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย พยาบาลหรืญาติ ช่วยในการยกแขน ขา
ออกกำลังกายโดยใช้แรงต้านกับแรงอื่น โดยใช้อุปกรณ์ที่ต้านกับแรง
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง โดยการให้ผู้ป่วยยกแข ขา