Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
ประวัติโรคประจำตัว
ประวัติการผ่าตัด
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
การตรวจร่างกาย
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
สัญญาณชีพ
การตรวจร่างกายตามระบบ โดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการซักประวัติ และตรวจร่างกายและช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรค บอกถึงความรุนแรงของโรค
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
การเตรียมผู้ป่วย
การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
Range of Motion (ROM)
Quadriceps Setting Exercise (QSE)
Deep-breathing exercises
Early ambulation
Effective cough
Turning and ambulation
Extremity exercise
Pain management
ด้านร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดต้องประเมินความสามารถในการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ ต้องประเมินสภาวะของปอดและหลอดลมดูการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ ประเมินสภาวะของไต
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
ภาวะสารน้ำและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
การพักผ่อนและการออกกำลังกาย
ด้านจิตใจ
ประเมินความวิตกกังวลก่อนผ่าตัดเพื่อช่วยลดความวิตกกังวลความกลัวต่างๆ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
อาหารและน้ำดื่มควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
การขับถ่ายถ้าเป็นการผ่าตัดเล็กหรือการผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่องท้องแพทย์อาจให้สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้หรือให้รับประทานยาระบายก่อนวันผ่าตัด
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัดเนื่องจากผิวหนังเป็นแหล่งที่มีเชื้อจุลินทรีย์อาศัยอยู่มากเพราะเป็นบริเวณที่กว้างดังนั้นต้องมีการเตรียมความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
บริเวณหูและปุ่มกระดูกมาสตอยด์
บริเวณคอ
บริเวณศีรษะ โกนผมบริเวณศีรษะออก เช็ดใบหูและทำความสะอาดช่องหู
บริเวณทรวงอก
บริเวณท้อง
บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
ขั้นตอนการเตรียมผิวหนัง
ถ้าบริเวณที่เตรียมสกปรกมากให้เช็ดด้วยเบนซินแล้วฟอกด้วยสบู่ถ้าไม่สกปรกให้ฟอกด้วยน้ำสบู่ธรรมดาล้างบริเวณนั้นด้วยน้ำให้สะอาด
โกนขนหรือผม ถ้าขนหรือผมนั้นยาวใช้กรรไกรตัดให้สั้นก่อน ใช้ก๊อสชุบสบู่หรือ Hibiscrub ชโลมให้ทั่วเพื่อทำให้ขนหรือผมบริเวณนั้นนุ่มจะได้โกนได้ง่ายขึ้น
บอกให้ผู้ป่วยทราบกั้นม่านดูให้มีแสงสว่างเพียงพอ ปูผ้ายางรองกันเปื้อนบริเวณที่จะเตรียมผ่าตัด
เตรียมเครื่องใช้ประกอบด้วยถาดสี่เหลี่ยม 1 ใบบรรจุมีดโกนหนวดพร้อมใบมีดที่คมและสะอาด1 อันกรรไกรผ้าก๊อส 2-3 ชิ้น
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ ประวัติการได้รับและสูญเสียสารน้ำและเกลือแร่ ตั้งแต่ก่อนผ่าตัดจนถึงหลังผ่าตัด ชนิดและปริมาณของสารน้ำที่ได้รับและออกจากร่างกาย ภาวะโภชนาการ
แบบแผนการขับถ่าย โดยประเมินการเสียเลือด การทำงานของไต การเปลี่ยนแปลงในการขับถ่ายปัจจุบัน
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย ประเมินโรคหัวใจและโรคปอด และการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ ประเมินความรู้ความเข้าใจ และการยอมรับในการผ่าตัดที่เกิดขึ้น
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด ประเมินการรับรู้ และวิธีการเปลี่ยนแปลงความเครียด สังเกตพฤติกรรมตอบสนองต่อความเครียด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
การจัดท่านอน ให้นอนราบไม่หนุนหมอน
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ ที่ออกจากร่างกายผู้ป่วย
ตรวจวัดสัญญาณชีพทึก 15นาที 4ครั้ง ทุก 30นาที 4 ครั้ง และทุก 1ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
ดูแลจัดท่าที่เหมาะสมเพื่อลดการดึงรั้งของแผลผ่าตัด
โดยพยาบาลประเมินความเจ็บปวดของผู้ป่วยโดยใช้ Pain scale ดูและให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย เพื่อลดอาการท้องอืด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกออกจากเตียง
ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับความสะอาดของร่างกายทั่วไป โดยเฉพาะช่องปาก อวัยวะสืบพันธุ์ และระบบขับถ่าย
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
รื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย อาหารที่ควรรับประทานหรือควรงด การรับประทานยา การสังเกตอาการข้างเคียงของยาที่ได้รับ
การมาตรวจตามแพทย์นัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลแผล และวิธีการส่งเสริมการหายของแผล
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
หมายถึง การช่วยบุคคลที่ด้อยสมรรถภาพ ทางกาย จิตใจ บุคคลที่เจ็บป่วยเรื้อรัง หรือบุคคลที่อยู่ในระยะพักฟื้น เพื่อป้องกันความพิการหรือความด้อยสมรรถภาพที่อาจเกิดขึ้น
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมตัวพยาบาล
การจัดท่าผู้ป่วย
การเตรียมผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง โดยใช้วิธีสอดมือเข้าไปในตำแหน่งของร่างกายที่จะยกเพื่อรองรับน้ำหนักร่างกายส่วนนั้น
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2คนขึ้นไปและให้สัญญาณขณะยก หรือใช้อุปกรณ์ที่ช่วยผ่อนแรงมาใช้เมื่อจำเป็น
ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับผู้ป่วยให้กล้ามเนื้อมีความตึงตัว แข็งแรง และข้อเคลื่อนที่ได้ตามปกติ
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
Walker หรือ Pick up frames คือ เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีอายุมากและการทรงตัวไม่ดีนัก
Cane คือ ป็นการเดินด้วยไม้เท้าอันเดียวผู้ป่วยต้องมีมั่นคงในการเดิน มักใช้กับผู้สูงอายุ
Parallel bar คือ ราวคู่ขนานราวเดินเป็นเครื่องช่วยเดินที่ให้ความมั่นคงที่สุด เหมาะสำหรับการฝึกเดินครั้งแรกของผู้ป่วย
Crutches คือ ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ำยัน
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2ข้าง
พิ่มการพยุงตัว เพื่อให้สามารถทรงตัวได้
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกในท่าตั้งตรง
การฝึกในราวคู่ขนา
การฝึกความแข็งแรง
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน
รูปแบบการเดิน
Two –point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความก้าวหน้าขึ้นจาก Four –point gait ต้องใช้การทรงตัวและความมั่นคงมากกว่า
Three –point gait เป็นรูปแบบการเดินที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของขา 1 ข้าง เช่น ผู้ป่วยตัดขา 1 ข้าง ผู้ปุวยขาหัก 1 ข้าง
Four –point gaitเป็นรูปแบบการเดินที่มีความมั่นคงมากที่สุด
Swing –to gaitวิธีนี้เหมาะที่สุดส าหรับผู้ปุวยที่มีการจ ากัดในการใช้ขาทั้ง 2 ข้าง
Swing –through gaitเป็นรูปแบบการเดินที่ก้าวหน้ามาจาก Swing –to gait วิธีนี้ท าให้เดินได้เร็วขึ้นกว่า
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
ไม้ค้ำยันรักแร้(Auxiliary crutches) เป็นอุปกรณ์ช่วยเดินที่ควรใช้เป็นคู่ เนื่องจากมีจุดยึดตอนบนอยู่ที่รักแร้ จึงช่วยพยุงตัวได้ดีและแบ่งรับน้ าหนักได้ถึง80% ของน้ าหนักตัว
Lofstrand crutch จะช่วยเพิ่มความมั่นคงของท่อนแขนส่วนปลายเวลายันลงน้ำหนัก สามารถใช้เป็นคู่แทนAxillary crutches ในผู้ป่วยที่มีการทรงตัวดี
Platform crutch สามารถลงที่ท่อนแขนส่วนปลาย แทนการลงน้ำหนักที่ข้อมือ นอกจากนี้ส่วนมือจับยังสามารถปรับเปลี่ยนให้เข้ากับความผิดรูปของมือได้
ไม้เท้า(Cane) เป็นอุปกรณ์ช่วยเดินที่ใช้เพียงข้างเดียวเป็นส่วนใหญ่ มีทั้งชนิดขาเดียว และสามขา ให้ความมั่นคงไม่มาก
ไม้เท้า3 ขา ท าให้มั่นคงกว่าไม้เท้าขาเดียว แต่มีข้อเสีย ถ้าผู้ปุวยไม่ยันลงน้ าหนักลงแกนกลางของไม้ ก็ทำให้เสียความมั่นคง
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
เพื่อเพิ่มหรือคงไว้ซึ่งสมรรถภาพทางร่างกาย
การออกกำลังกายเพื่อการเคลื่อนไหว
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น
การเคลื่อนไหวร่างกาย
กลไกการเคลื่อนไหวร่างกายหมายถึง การใช้ร่างกายอย่างปลอดภัยมีประสิทธิภาพ มีการประสานงานกันในการเคลื่อนไหวและดำรงความสมดุลระหว่างการมีกิจกรรม
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูกและกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้าหรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก
อาการปวดหลัง
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบผิวหนังผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทำให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์
การเผาผลาญอาหารลดลง
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล จะสอดคล้องกับข้อมูลสนับสนุนที่รวบรวมได้จากการประเมินสภาพผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาลและประเมินผลหลังให้การพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ ไม่มีอันตรายและภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการผ่าตัด พยาบาลจะต้องตระหนักถึงปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล