Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
ประวัติโรคประจาตัว
ควรครอบคลุมถึงอาการ ความรุนแรงของโรคและประวัติการรักษา ยาที่ใช้ประจำ
ประวัติการผ่าตัด และการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้า
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
การตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ
การชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
การตรวจร่างกายตามระบบ
เน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สามารถใช้เป็น Screening tests
ช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรค บอกถึงความรุนแรงของโรค
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มตระหนักว่ามีบางสิ่งผิดปกติ
และแพทย์วินิจฉัยว่าต้องผ่าตัด หรือตัวผู้ป่วยเองสงสัยว่าจะต้อง
ผ่าตัดจนกระทั่งเวลาที่แพทย์จะลงมือผ่าตัด
ด้านร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประเมินความสามารถในการทำงานของหัวใจ และหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ประเมินสภาวะของปอดและหลอดลม
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมินสภาวะของไต
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
ภาวะสารน้าและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
ประเมินสภาวะความสมดุลของสารน้า และอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
การพักผ่อนและการออกกาลังกาย
ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ ที่ผู้ป่วยควรทราบ
เพื่อลดความวิตกกังวล
ด้านจิตใจ
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด ควรได้รับการเตรียมทางจิตใจทุกคน
ช่วยลดความวิตกกังวล ความกลัวต่างๆ
การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
Early ambulation
ยกเว้นมีข้อห้ามหรือการผ่าตัดบางอย่างที่ต้องให้
ผู้ป่วย Absolute bed rest
Quadriceps Setting Exercise (QSE)
เป็นการออกกำลังกายกล้ามเนื้อต้นขา
Rectus femeris
Vastus lateralis
Vastus medialis
Vastus intermediate
Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
เป็นการออกกำลังขา ข้อสะโพกและกล้ามเนื้อต้นขาแบบยกขาขึ้นตรงๆ
Range of Motion (ROM)
เป็นการออกกำลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหวในทุกทิศทางปกติของข้อต่าง ๆ ซึ่งร่างกายของคนมีส่วนเคลื่อนไหวหลักๆ อยู่ 6 แห่ง คือ ศีรษะ ลำตัว แขนและขาทั้งสองข้าง และยังมีการเคลื่อนไหวในส่วนย่อยๆ ที่มือ นิ้วมือ เท้า และนิ้วเท้า ได้อย่างอิสระ
Deep-breathing exercises
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงายศีรษะสูง วางมือทั้ง 2 ข้างบนหน้าอกส่วนล่าง แล้วให้กำมือหลวมๆ ให้นิ้วมือสัมผัสกับหน้าอก
เพื่อจะได้รู้สึกการ
เคลื่อนไหวของปอด
หายใจเข้ายาวๆ ลึกๆ ทั้งทางจมูกและปาก
เพื่อปอดจะได้ขยายเต็มที่
กลั้นหายใจไว้ ให้ผู้ป่วยนับ 1-5 แล้วจึงค่อยผ่อนลมหายใจออกทั้งทางจมูกและปาก ทาซ้าประมาณ 15 ครั้ง
Effective cough
จะทำให้เสมหะที่มีอยู่ในปอดออกมาได้
Abdominal breathing
เพื่อให้ทรวงอกเคลื่อนไหวน้อยลงในระยะแรกหลังผ่าตัด
Turning and ambulation
ควรทำทุก 2 ช.ม.
เช่น
พลิกตัวไปทางขวาให้ขยับตัวไปทางซ้าย
Extremity exercise
ยกเว้นในรายที่มีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวหลังผ่าตัด
Pain management
หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะได้รับการระงับความเจ็บปวดพยาบาลควรสอนที่ช่วยในการระงับความเจ็บปวดควบคู่กันไป
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
อาหารและน้ำดื่ม
งดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
งดอาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
การขับถ่าย
การผ่าตัดเล็กหรือการผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่องท้อง
อาจให้สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้ หรือให้รับประทานยาระบายก่อนวันผ่าตัด
การผ่าตัดใหญ่หรือผ่าตัดเปิดสู่ช่องท้อง
จะให้มีการสวนอุจจาระก่อนผ่าตัด
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
บริเวณศีรษะ
โกนผมบริเวณศีรษะออก
เช็ดใบหู
ทำความสะอาดช่องหูภายนอก
บริเวณหูและปุ่มกระดูกมาสตอยด์
บริเวณคอ
บริเวณทรวงอก
บริเวณช่องท้อง
บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
ไต
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
แขน ข้อศอก และมือ
ตะโพกและต้นขา
การทำ Skin graft
Donor site
Recipient site
หัวเข่า
ปลายขา
เท้า
ขั้นตอนการเตรียมผิวหนัง
1.เตรียมเครื่องใช้
2.บอกให้ผู้ป่วยทราบ กั้นม่าน
3.ปูผ้ายางรองกันเปื้อนบริเวณที่จะเตรียมผ่าตัด
4.ถ้าสกปรกมาก ให้เช็ดด้วยเบนซินแล้วฟอกด้วยสบู่
5.โกนขน หรือผม
6.โกนเสร็จใช้สบู่และน้าล้างบริเวณนั้นให้สะอาด
7.เก็บผมหรือขน
8.เตรียมเฉพาะที่อื่นๆ
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
คืนก่อนวันผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดปาก ฟัน
ของปลอม ของมีค่าต่างๆ ถอดเก็บไว้ให้ญาติดูแลรักษา
สื่อไฟฟ้าต่างๆ
ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้า ทาปาก ทาเล็บ
เช้าวันที่จะผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดร่างกาย เปลี่ยนชุดสาหรับใส่เพื่อผ่าตัด
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย ความกลัวการผ่าตัด
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
แพทย์มักจะให้ยาในคืนวันก่อนผ่าตัด
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลและนอนหลับพักผ่อนได้ดี
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ
แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย
การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยนอนบนรถนอนห่มผ้าให้เรียบร้อย ยกไม้กั้นเตียงขึ้นเข็นรถด้วยความนุ่มนวล
การดูแลครอบครัวผู้ป่วย
พยาบาลต้องแจ้งให้ครอบครัวทราบถึงเวลาที่ผู้ป่วยจะ
เข้าห้องผ่าตัดคอยรับผู้ป่วยเมื่อออกจากห้องผ่าตัด
การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจ CBC และ Blood group ทันที
ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
ทำความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดให้เรียบร้อย
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นใบยินยอมผ่าตัด
ถ้าผู้ป่วยไม่มีญาติมาด้วย พยาบาลต้องถามหรือหาที่อยู่ของครอบครัว เบอร์โทรศัพท์ของ ครอบครัว และรีบแจ้งให้ครอบครัวทราบโดยเร็วที่สุด
วัดและบันทึกอาการ สัญญาณชีพ รวมทั้งการให้ยาก่อนผ่าตัด
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป อาการ และ สัญญาณชีพ
ถ้าผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์ทราบ
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
ทั่วไปชีพจรและความดันโลหิตไม่ควรมีการ
เปลี่ยนแปลงมากกว่าหรือน้อยกว่า 20% ของค่าปกติ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
ประวัติการได้รับและสูญเสียสารน้ำและเกลือแร่
ก่อนผ่าตัดจนถึงหลังผ่าตัด
ชนิดและปริมาณของสารน้ำที่ได้รับและออกจากร่างกาย
แบบแผนการขับถ่าย
ประวัติการเสียเลือด สารน้ำทางปัสสาวะ การขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลังผ่าตัด
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกหลังผ่าตัด
ปัสสาวะขุ่น
ท้องผูก
การทำงานของไต
การประเมินภาวะไม่สมดุลสารน้ำและเกลือแร่ จากการเสียหน้าที่ของไต
การมีของเสียคั่ง
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ประเมินความรู้ความเข้าใจ และการยอมรับในการผ่าตัดที่เกิดขึ้น
ความร่วมมือในการปฏิบัติการรักษาพยาบาล
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
ประเมินการรับรู้ และวิธีการเปลี่ยนแปลงความเครียด
สังเกตพฤติกรรมตอบสนองต่อความเครียด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง และคงไว้ซึ่งการทำงานระบบหายใจภายหลังการผ่าตัดระยะแรก
การจัดท่านอน
ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดีอาจให้นอนราบหนุนหมอนได้
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ และไออย่างมีประสิทธิภาพตามวิธีที่
สอนผู้ป่วยก่อนการผ่าตัดและติดตามการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยหลังผ่าตัด
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ ในรายที่ไม่รู้สึกตัวควรพลิกตะแคง
ให้ทุก 1-2 ชั่วโมง และในรายที่รู้สึกตัวดีควรจัดให้นอนในท่าศีรษะสูง
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
เพื่อเพิ่มกิจกรรมการเคลื่อนไหวขณะอยู่บนเตียงและลดภาวะแทรกซ้อนจากการนอนท่าเดียวนานๆ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น
สัญญาณชีพ รวมถึงค่าออกซิเจนในเลือด
ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์และให้ออกซิเจนตาแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทางานของระบบหัวใจและไหลเวียน
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 4 ครั้ง และทุก 1ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ ที่ออกจากร่างกายผู้ป่วย
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ เลือด หรือพลาสมาทดแทนทางหลอดเลือดดำ
ให้ผู้ป่วยนอนพักนิ่งๆ ในบริเวณที่มีเลือดออกมากๆ
เพื่อลดการเคลื่อนไหวซึ่งจะมีผลทาให้เลือดออกมากขึ้น
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
พยาบาลประเมินความเจ็บปวดของผู้ป่วย
ใช้ Pain scale
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกออกจากเตียง หรือจัดท่านอนศีรษะสูงเพื่อลดอาการแน่นท้อง ท้องอืด
ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
สังเกตและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ถึงการย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
การนอนหลับ
อาการคลื่นไส้
การปวดถ่ายปัสสาวะ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับความสะอาดของร่างกายทั่วไป
ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบ หรือระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ควรยกราวกั้นเตียงผู้ป่วยขึ้นก่อนออกจากเตียงผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ
ทำความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลแผล และวิธีการส่งเสริมการหายของแผล
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสาหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ และอาการแสดงของการติดเชื้อ
การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นข้อจำกัดหลังผ่าตัด
การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การมาตรวจตามแพทย์นัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
หมายถึง การช่วยบุคคลที่ด้อยสมรรถภาพ ทางกาย
จิตใจ บุคคลที่เจ็บป่วยเรื้อรัง หรือบุคคลที่อยู่ในระยะพักฟื้น
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย
ความผิดปกติเกี่ยวกับผิวหนัง กระดูก หลอดเลือด
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้
ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมผู้ป่วย
ให้เอาหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนไว้ที่พนักหัวเตียง ปรับระดับเตียงให้อยู่ในแนวราบพร้อมทั้งดูแลความปลอดภัยของผู้ป่วย
การเตรียมตัวพยาบาล
พยาบาลควรยืนในท่าที่ถูกต้อง พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
การจัดท่าผู้ป่วย
เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความสุขสบายขณะนอนพักบนเตียงหรือเตรียมทำหัตถการ และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากท่านอนที่ไม่ถูกต้อง
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร และเฉียงปลายเท้าไปตามทิศทางที่ต้องการเคลื่อนย้าย และอยู่ในสมดุลเมื่อต้องการเคลื่อนไปทางหัวเตียงหรือปลายเตียง
หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
ย่อเข่าและสะโพก
หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแทนการเลื่อนผู้ป่วย
ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2คนขึ้นไปและให้สัญญาณขณะยก
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
ท่าที่เป็นข้อห้ามของผู้ป่วย
ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
นาหมอนหนุนศีรษะของผู้ปุวยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นเอาออกจากเตียง
พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหวร่างกาย
พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
หมุนข้อตะโพก เหยียดขาทั้งสองข้าง หมุนเข้าหาตัวและหมุนออกจากตัวแล้วให้หมุนขาทั้งสองข้างเข้าหาตัวจนนิ้วหัวแม่เท้าชนกัน แล้วหมุนขาออกนอกตัวจนส้นเท้าทั้งสองข้างชนกัน
กางและหุบข้อตะโพก เหยียดข้อเข่าและให้ข้อเท้างอเข้าหาปลายขา ยกขาข้างที่ทำไปที่ข้างเตียงทั้งสองด้าน สลับทำกับขาอีกข้างหนึ่ง
เหยียดข้อเข่า เหยียดขาพร้อมกับกดข้อเข่าลงกับที่นอน
และยกส้นเท้าขึ้นจากเตียงสูงเท่าที่จะทาได้ สลับทากับขาอีกข้างหนึ่ง
งอข้อเท้า หมุนข้อเท้าเข้าหาตัวและออกจากตัว โดยวิธีหมุนข้อเท้าเป็นวงรอบตามเข็มนาฬิกาและหมุนทวนเข็มนาฬิกา
งอและเหยียดนิ้วเท้า
เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพก ต้นขา โดยการเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้องแล้วคลายออก แล้วหายใจเข้าลึกๆ ให้กล้ามเนื้อหน้าท้องขยายมากที่สุด และเกร็งกล้ามเนื้อตะโพกพร้อมกับยกขาขึ้น
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว
พยาบาลยืนเยื้องด้านหลังผู้ป่วย ใช้มือ 2 ข้างยืดเข็มขัดหรือผ้าคาดเอวเพื่อพยุงผู้ป่วยขณะผู้ป่วยเดิน
กรณีไม่ใช้เข็มขัด
ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วย มือไกลตัวจับที่ปลายแขนของผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน
พยาบาลยืนข้างผู้ป่วยคนละด้าน มือพยาบาลข้างใกล้ตัวผู้ป่วยสอดใต้รักแร้ผู้ป่วย อีกข้างหนึ่งจับปลายแขนหรือมือผู้ป่วยข้างเดิมผู้ป่วยและพยาบาลทั้ง 2 คนเดินพร้อมกัน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
Walker หรือ Pick – up frames
Cane
Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ายัน )
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนัก
แทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
เมื่อมีข้อห้ามในการรับน้ำหนักเต็ม
ทั้งขา (Partial weight bearing) ข้างนั้น
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนัก
แทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
เมื่อมีข้อห้ามหรือมีการอ่อนแรงจนขา
ไม่สามารถรับน้ำหนักได้ (Non – weight bearing)
เพิ่มการพยุงตัว
(Support)
เพื่อให้สามารถทรงตัวได้
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน
ผู้ป่วยจะต้องลงน้ำหนักตามแผนการรักษา
รูปแบบการเดิน
Four – point gait
เป็นรูปแบบการเดินที่มีความมั่นคงมากที่สุด
Two – point gait
เป็นรูปแบบการเดินที่มีความก้าวหน้าขึ้นจาก Four –point gait
Three – point gait
เป็นรูปแบบการเดินที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของขา 1 ข้าง
Swing – to gait
วิธีนี้เหมาะที่สุดสำหรับผู้ป่วยที่มีการจำกัดในการใช้ขาทั้ง2 ข้าง
Swing – through gait
วิธีนี้ทำให้เดินได้เร็วขึ้นกว่า Four – point gaitและSwing – to gait
มีความมั่นคงน้อยที่สุดในรูปแบบการเดินทั้งหมด
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
ไม้ค้ายันรักแร้
(Auxiliary crutches)
เป็นอุปกรณ์ช่วยเดินที่ควรใช้เป็นคู่
การสอนเดิน
Point gait
Swing gait
Lofstrand crutch
การวัดความยาว
การสอนเดินPoint gait
Platform crutch
การวัดความยาวของ Platform crutch ที่เหมาะสม
การสอนเดิน
ไม้เท้า
เป็นอุปกรณ์ช่วยเดินที่ใช้เพียงข้างเดียวเป็นส่วนใหญ่
ไม้เท้า 3 ขา
มีฐานกว้าง และมีจุดยันรับน้าหนักที่พื้น 3 จุดทำให้มั่นคงกว่าไม้เท้าขาเดียว
Walker
จะให้ Support มากที่สุดในช่วงการเดินเมื่อเทียบกับ Cane และCrutches
การออกกาลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกายที่มีการวางแผน หรือมีการเตรียมตัว เป็นกิจกรรมที่มีการกระทาซ้ำๆ
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
เป็นการออกกำลังกายโดยการเคลื่อนไหวข้อต่างๆ ให้กับผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายด้วยตนเองได้หรือมีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหว
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วย
ทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น
วิธีนี้ให้ผลดีกว่าวิธีที่ให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย เพราะเป็นการกระตุ้นให้กล้ามเนื้อมีการทำงานร่วมด้วย
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน
เพื่อเพิ่มความตึงตัวและแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันกล้ามเนื้อลีบ
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วย
ออกแรงต้านกับแรงอื่น
เป็นการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ให้ผู้ป่วยออกแรงต้าน
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
เกิดแรงกดทับ
เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
การเสียดทาน
แรงดึงรั้ง
เกิดจากแรงกดทับและการเสียดทานที่เกิดขึ้นพร้อมกัน
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุ เปราะบาง
พบบ่อยที่กระดูกขา ตัวกระดูกสัน
หลัง และกระดูกเท้า
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก
อาการปวดหลัง
เกิดการท่านอนที่ไม่ถูกต้อง ศีรษะนอนหนุนหมอนสูงเกินไป ที่นอนนิ่มเกินไป แข็งเกินไป
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทำงานมากขึ้น
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
ทำให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย กังวลใจจากการนอนเฉยๆ และโรคที่ เป็นอยู่ความต้องการพลังงานลดลง
ทำให้ท้องผูก
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะสูญเสียหน้าที่
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญอาหารลดลง
เนื่องจากความต้องการใช้พลังงานน้อยจากการ
ที่มีการเคลื่อนไหวน้อยหรือไม่มีการเคลื่อนไหว
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง
ทำให้เบื่ออาหารรับประทานอาหารพวกโปรตีนน้อยลง
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนาไปสู่การวางแผนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล
และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ