Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 บทนำ กระบวนการพยาบาล, 8ee82f7e814cadd06611d2caab385181, dip-02,…
บทที่ 1 บทนำ
กระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ การวินิจฉัยการพยาบาล การวางแผนการพยาบาลการปฏิบัติการพยาบาล และการประเมินผลการพยาบาล
1.1 ความหมายของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาล เป็นการแก้ปัญหาตามหลักวิทยาศาสตร์ที่มีระบบ เป็นขั้นตอนและ มีความต่อเนื่อง ท าให้การน าความรู้ทางทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติการพยาบาลมีประสิทธิภาพ(Gordon, 2007)
กระบวนการพยาบาล คือกระบวนการแก้ปัญหาที่นำมาใช้ให้เฉพาะเจาะจงสำหรับศาสตร์ สาขาพยาบาล ประยุกต์ใช้ได้ในทุกสถานการณ์ของพยาบาล เป็นกระบวนการทางสติปัญญา (Cognitive process) ที่ให้วิธีคิดและแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาลอย่างมีระบบ
สมจิต หนุเจริญกุล (2540)
กระบวนการพยาบาล
NURSING PROCESS ซึ่งประกอบด้วย การประเมินภาวะสุขภาพ การวินิจฉัยการพยาบาล การวางแผนการพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาลและการประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล
1.2 ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health
Assessment)
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data
Collection)
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of
Data)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing
Diagnosis)
2.1 การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Defined Nursing Diagnosis)
2.2 การกำหนดข้อมูลสนับสนุน (Defined
data support)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
3.1 การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
(Priority)
3.2 การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของ
การพยาบาล (Goal/Objective)
3.3 การกำหนดเกณฑ์การประเมินผลการพยาบาลหรือผลลัพธ์ที่คาดหมาย(Desired/ Expected Out come)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
4.1 การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
4.2 การบันทึกทางการพยาบาล (Nursing
documentation)
การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
ความสำคัญของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลเป็นหัวใจของการปฏิบัติการวิชาชีพพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การปฏิบัติพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐาน
พยาบาลทราบถึงเป้าหมายของการพยาบาลชัดเจน ช่วยให้การดูแลผู้ป่วยได้ครอบคลุมและต่อเนื่อง
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้พยาบาลมีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ช่วยให้พยาบาลได้ฝึกทักษะการใช้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking)
ผู้รับบริการได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ
กระบวนการพยาบาลช่วยในการสื่อสารของทีมการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ
ทำให้ทีมการพยาบาลมีความเข้าใจตรงกันลดความซ้ าซ้อนหรือความผิดพลาดในการปฏิบัติการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การมอบหมายงานได้เหมาะสมกับสถานการณ์
ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน
ช่วยให้มีแนวทางในการมอบหมายงานแก่เจ้าหน้าที่ในทีมพยาบาล
กระบวนการพยาบาลแสดงถึงเอกลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล
ทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมาก
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ
มีส่วนส่งเสริมให้พยาบาลมีการทำวิจัย
มากขึ้น
ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลและแนวทางแก้ไข
1.4 ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลและแนวทางแก้ไข
นักศึกษาพยาบาลมีความสามารถเกี่ยวกับการนำกระบวนการพยาบาลมาใช้ในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง
นักศึกษายังมีทัศนคติในเชิงลบต่อการใช้กระบวนการพยาบาล รู้สึกว่าการใช้กระบวนการพยาบาลทำให้เครียดและกังวล
สำหรับพยาบาลวิชาชีพ
มีการใช้กระบวนการพยาบาลในการ
ปฏิบัติงานอยู่ในระดับ ปานกลาง
การใช้กระบวนการพยาบาลยังไม่ครบทุก
ขั้นตอน
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการนำกระบวนการ
พยาบาลไปใช้ในการปฏิบัติงานโดยเฉพาะขั้นตอน
การวินิจฉัยการพยาบาล
การนิเทศขณะที่นำกระบวนการพยาบาลไปใช้ในการปฏิบัติงานไม่ชัดเจนและไม่ต่อเนื่อง ขาดการนิเทศ ที่เป็นระบบ
สิ่งอำนวยความสะดวกมีไม่เพียงพอ เช่นแบบฟอร์มบันทึกการพยาบาลมีการบันทึกซ้ำซ้อนกัน ไม่มีรูปแบบการบันทึกทางการยาบาลที่ใช้ได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว
แนวทางแก้ไข
• ฝ่ายการศึกษา
ควรจัดการเรียนการสอนเน้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และฝึก
ประสบการณ์ในการวินิจฉัยการพยาบาลมากขึ้น
ผู้สอน ควรปลูกฝังทัศนคติที่ดีต่อการเรียนกระบวนการพยาบาลให้แก่นักศึกษาพยาบาล
ควรมีการพัฒนาอาจารย
ให้มีความเข้าใจในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
การใช้ภาษาในการเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาลควรมีความยืดหยุ่น
ฝ่ายบริการพยาบาล
ควรกำหนดนโยบายการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติพยาบาลให้ชัดเจนมีระบบ
ควรจัดจำนวนบุคลากรให้มีสัดส่วนพอเหมาะกับจำนวนผู้ป่วย
ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้
ควรจัดให้มีเอกสาร ตำรา เกี่ยวกับการ
วินิจฉัยการพยาบาลและโรคต่าง ๆ
ควรส่งเสริมการทำวิจัย
กรอบแนวคิดที่ใช้ในกระบวนการพยาบาล
กรอบแนวคิดของแนนดา (NANDA)
กิจกรรม/การพักผ่อน (Activity/Rest)
การไหลเวียนโลหิต (Circulation)
ความสมบูรณ์ของจิตใจ อารมณ์ (Ego integrity)
การขับถ่าย (Elimination)
อาหารและน้ำ (Food & Fluid)
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Hygiene)
การรับรู้และประสาทสัมผัส (Neurosensory)
ความเจ็บปวด (Pain/ Discomfort)
การหายใจ (Respiration)
ความปลอดภัย (Safety)
อนามัยทางเพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality)
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social interaction)
การเรียนรู้ (Teaching/Learning)
กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
(Gordon)
ภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัว
และชุมชน รวมทั้งกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามแนวทางการประเมิน
แบบแผนที่ 1 การรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ (Health perception and
Health management)
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร (Nutrition and Metabolism)
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย (Elimination)
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกก าลังกาย (Activity and Exercise)
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ (Sleep and Rest)
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้ (Cognition and perception)
แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ (Self perception and Self concept)
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ (Role and Relationship)
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality and Reproduction)
แบบแผนที่ 10การปรับตัวและการทนทานต่อความเครียด(Coping and Stress tolerance)
แบบแผน 11 คุณค่าและความเชื่อ (Value and Belief)
กรอบแนวคิดระบบการจ าแนกการปฏิบัติการพยาบาลระดับสากล
(International Classification for Nursing Practice, ICNP)
มีการจัดกลุ่มปรากฏการณ์ทางการพยาบาล (Nursing phenomena)
1) จุดเน้นการปฏิบัติการพยาบาล (Focus of nursing practice)
2) การตัดสิน (Judgment)
3) ความบ่อย (Frequency)
4) ระยะเวลา (Duration)
5) อวัยวะของร่างกาย (Body site)
6) อาณาบริเวณ (Topology)
7) โอกาสเกิด (Likelihood)
8) การกระจาย (Distribution
การจำแนกกิจกรรมทางการพยาบาล (Nursing actions)
ชนิดของกิจกรรมการพยาบาล (Action type)
• เป้าหมายของการพยาบาล (Target)
• เครื่องมือในการปฏิบัติการพยาบาล (Means)
• เวลาที่ให้การพยาบาล (Time)
• สถานที่ที่ให้การพยาบาล (Location)
• บริเวณหรือตำแหน่งของร่างกายที่กระท าการพยาบาล (Topology)
• วิธีการที่ให้การพยาบาล (Route) รวมทั้งผู้ที่ได้รับประโยชน์ (Beneficiary
การจำแนกผลลัพธ์ทาง การพยาบาล (Nursing outcomes)
เป็นการประเมินหรือวัดผลลัพธ์ ณ เวลาใดเวลาหนึ่งหลัง จากการให้การ บำบัดหรือกิจกรรมทางการพยาบาลแล้ว
ข้อจำกัด
คำศัพท์และภาษาที่ใช้เป็นภาษาที่แปลมาจาก
ภาษาอังกฤษทำให้เข้าใจยาก
เกณฑ์การแบ่งระดับความรุนแรงยังไม่ชัดเจนและยังไม่
ครอบคลุมรายละเอียดของผู้ป่วยแต่ละราย
ผู้ใช้กรอบแนวคิดนี้จะต้องมีความรู้ทั้งทางการ
พยาบาลเฉพาะโรค
สิ่งสำคัญคือ การมีความตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการพยาบาลและการมีทัศนคติที่ดีต่อการใช้กระบวนการพยาบาล
ไม่อคติ ไม่ต่อต้าน ไม่คิดว่าเป็นเรื่องยาก ให้พยายามฝึกฝนโดยไม่
ต้องกังวล ว่าจะใช้ผิด
มีการประเมินผลตนเอง โดยการตรวจสอบความ
ถูกต้องตามหลักการเขียน
มีการประเมินปัญหา อุปสรรคและปรับปรุง
การใช้กระบวนการพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ