Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย
5.1 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
2 การการตรวจร่างกาย
1) สัญญาณชีพ
2) การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3) การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
4) การตรวจร่างกายตามระบบ โดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
3 การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) ข้อบ่งชี้ของการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆ มีดังนี้
Complete blood count ภาวะซีด เลือดออกผิดปกติ Chronic blood loss โรคไต โรคมะเร็ง
Urinalysis Screening test สำหรับโรคไต
Electrolytes โรคไต โรคเบาหวาน ภาวะพร่องน้ำ ได้รับยาขับปัสสาวะ digoxin steroids
BUN/Creatinine โรคไต โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ภาวะพร่องน้ำ
Blood sugar โรคเบาหวาน ใช้ยากลุ่ม steroids
Liver function tests โรคตับ โรคพิษสุราเรื้อรัง
Coagulogram โรคตับ เลือดออกผิดปกติ ได้รับยาป้องกันเลือดแข็งเป็นลิ่ม (Anticoagulants)
Chest X-ray โรคหัวใจ โรคปอด โรคมะเร็ง สูบบุหรี่ ไอเรื้อรัง มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยวัณโรค
ECG โรคหัวใจ โรคปอด โรคความดันโลหิตสูง
2) ข้อแนะนำการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Screening tests) มีดังนี้
อายุ≤ 45 ปี แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว ตรวจ CBC
อายุ> 35 ปี แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว ตรวจ CBC, CXR, ECG
อายุ> 60 ปี แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว ตรวจ CBC, CXR ECG, E’lytes , BUN/Cr , BS
ผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดใหญ่ ตรวจ CBC ,CXR, ECG E’lytes, BUN/Cr ,BS ,Coag
1 การซักประวัติ โดยการสอบถามข้อมูลจากผู้ป่วยและญาติ
1) ประวัติโรคประจำตัว ควรครอบคลุมถึงอาการ ความรุนแรงของโรค
2) ประวัติการผ่าตัด และการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้
3) ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
4) การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
5) ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับความรู้สึก
6) ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น โรคความดันโลหิตสูง
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1 การเตรียมผู้ป่วย
2) ด้านจิตใจ
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด ควรได้รับการเตรียมทางจิตใจทุกคน โดย
การเยี่ยมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด ประเมินความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด
พยาบาลควรให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลจริง ทำความเข้าใจ และแก้ไขเกี่ยวกับความเชื่อผิดๆ ขณะเดียวกันเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความรู้สึกที่กังวลออกมา
1) ด้านร่างกาย
(2) ระบบทางเดินหายใจ ต้องประเมินสภาวะของปอดและหลอดลม ดูการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
(3) ระบบทางเดินปัสสาวะ ต้องประเมินสภาวะของไต
(4) ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
(5) ภาวะสารน้ำและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย ต้องประเมินสภาวะความสมดุลของสารน้า และอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
(6) การพักผ่อนและการออกกาลังกาย ต้องได้รับการพักผ่อนที่ดี และมีการออกกำลังกายที่เหมาะสม
(7) ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ ที่ผู้ป่วยควรทราบเพื่อลดความวิตกกังวล
(1) ระบบหัวใจและหลอดเลือด ต้องประเมินความสามารถในการทำงานของหัวใจ และหลอดเลือด
3) การให้คำแนะนาการปฏิบัติหลังผ่าตัด รวมทั้งการฝึกทักษะการปฏิบัติตัวในระยะหลังผ่าตัด
(1) Early ambulation ยกเว้นมีข้อห้ามหรือการผ่าตัดบางอย่างที่ต้องให้ผู้ป่วย Absolute bed rest
(2) Quadriceps Setting Exercise (QSE) เป็นการออกกาลังกายกล้ามเนื้อต้นขา 4 มัด
(3) Straight Leg Raising Exercise (SLRE) เป็นการออกกาลังขา ข้อสะโพกและกล้ามเนื้อต้นขาแบบยกขาขึ้นตรงๆ
(4) Range of Motion (ROM) เป็นการออกกาลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหวใน
ทุกทิศทางปกติของข้อต่าง ๆ ซึ่งร่างกายของคนมีส่วนเคลื่อนไหวหลักๆ อยู่ 6 แห่ง คือ ศีรษะ ลำตัว แขนและขาทั้งสองข้าง
(6) Effective cough
(5) Deep-breathing exercises
(7) Abdominal breathing
(8) Turning and ambulation
(9) Extremity exercise
(10) Pain management
2 การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด มีดังนี้
3) การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด การเตรียมบริเวณที่จะผ่าตัดต้องเตรียมให้กว้างกว่าบริเวณที่จะผ่าตัดจริง
(6) บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ เตรียมบริเวณตั้งแต่ระดับราวนมลงมาถึงต้นขา รวมทั้งบริเวณฝีเย็บด้วย
(7) ไต เตรียมด้านหน้าจากบริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และต้นขา ทั้ง2 ข้าง ด้านข้างจากรักแร้ถึงตะโพก ด้านหลังจากแนวกึ่งกลางลาตัวด้านหน้าอ้อมไปจนถึงกระดูกสันหลังซีกของ ไตข้างที่จะทำการผ่าตัดนั้น
(8) บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก เตรียมตั้งแต่ระดับสะดือ ลงมาถึงฝีเย็บ และด้านในของต้นขาและก้น
(9) แขน ข้อศอก และมือ เตรียมบริเวณแขนข้างที่จะทำผ่าตัดทั้งด้านหน้าและด้านหลัง จากหัวไหล่ถึงปลายนิ้วมือ รวมทั้งโกนขนรักแร้ ตัดเล็บให้สั้นและทำความสะอาดด้วย
(5) บริเวณช่องท้องเตรียมตั้งแต่ระดับรักแร้ลงมาถึงฝีเย็บ
(4) บริเวณทรวงอก เตรียมด้านหน้าจากคอตอนบนจนถึงระดับสะดือจากแนวยาวของหัวนมข้างที่ไม่ได้ทาผ่าตัดไปจนถึงกึ่งกลางหลังของข้างที่ทำ และขนอ่อนของต้นแขนจนถึงต่ำกว่าข้อศอก 1 นิ้ว
(10) ตะโพกและต้นขา เตรียมบริเวณจากระดับเอวลงมาถึงระดับต่ากว่า หัวเข่า
ข้างที่จะทำ 6 นิ้ว ทั้งด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้าง รวมทั้งเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกด้วย
(3) บริเวณคอ เตรียมบริเวณจากใต้คางลงมาถึงระดับราวหัวนม และจากหัวไหล่ข้างขวาถึงข้างซ้าย
(11) การทา Skin graft ทำความสะอาดผิวหนังทั้งบริเวณ Donor site และ
Recipient site ให้กว้าง
(2) บริเวณหูและปุมกระดูกมาสตอยด์ ให้ เตรียมบริเวณกว้างเป็นวงรอบออกไป
จากหูประมาณ 1 – 2 นิ้ว โกนขนอ่อน ที่ใบหูด้วย
(12) หัวเข่า เตรียมจากขาหนีบถึงข้อเท้าข้างที่จะทำผ่าตัดโดยรอบ
(1) บริเวณศีรษะ โกนผมบริเวณศีรษะออก เช็ดใบหู และทาความสะอาดช่องหู ภายนอกด้วยไม้พันสำลีที่ปราศจากเชื้อ เตรียมบริเวณลงมาถึงแนวกระดูกไหปลาร้าทั้งหน้าและหลัง ไม่ต้องเตรียมบริเวณใบหน้า
(13) ปลายขา เตรียมจากเหนือหัวเข่า ประมาณ 8 นิ้ว ลงมาถึงเท้าข้างที่จะผ่าตัดตัดเล็บเท้าให้สั้น และทำความสะอาดเล็บด้วย
(14) เท้า เตรียมจากใต้หัวเข่าลงไปถึงเท้าข้างที่จะทาผ่าตัด ตัดเล็บเท้าให้สั้นและทำความสะอาดเล็บด้วย
(15) ขั้นตอนการเตรียมผิวหนัง
บอกให้ผู้ป่วยทราบ กั้นม่าน ดูให้มีแสงสว่างเพียงพอ
ปูผ้ายางรองกันเปื้อนบริเวณที่จะเตรียมผ่าตัด
เตรียมเครื่องใช้
ถ้าบริเวณที่เตรียมสกปรกมาก ให้เช็ดด้วยเบนซินแล้วฟอกด้วยสบู่ ถ้าไม่สกปรกให้ฟอกด้วยน้ำสบู่ธรรมดา ล้างบริเวณนั้นด้วยน้ำให้สะอาด
โกนขน หรือผม
เมื่อโกนเสร็จใช้สบู่และน้ำล้างบริเวณนั้นให้สะอาด เช็ดให้แห้งด้วยผ้าสะอาด
เก็บผมหรือขน ใบมีดโกนที่ใช้แล้วห่อใส่กระดาษให้เรียบร้อย
5) การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัดเพื่อช่วยให้
ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลและนอนหลับพักผ่อนได้ดี
2) การขับถ่าย ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็ก หรือการผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่อง
ท้อง แพทย์อาจให้สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้ แต่ถ้าเป็นการผ่าตัดใหญ่หรือผ่าตัดเปิดสู่ช่องท้องแพทย์จะให้มีการสวนอุจจาระก่อนผ่าตัด
4) การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทาความสะอาดปาก ฟัน ถ้ามีฟันปลอมให้ถอดฟันปลอมออก
ของปลอม ของมีค่าต่างๆ ถอดเก็บไว้ให้ญาติดูแลรักษา
สื่อไฟฟ้าต่างๆ เช่น กิ๊บที่ทาด้วยโลหะ ที่คาดผมที่ทาด้วยโลหะ เป็นต้น
ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้า ทาปาก ทาเล็บ เพราะบริเวณเหล่านี้จะเป็นที่สังเกตอาการเขียวคล้ำ ซึ่งเป็นอาการแสดงแรกเริ่มของการขาดออกซิเจน
ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป วัดและบันทึกสัญญาณชีพ อาการของผู้ป่วยลงในใบแบบฟอร์มผ่าตัด และใบแบบฟอร์มบันทึกทางการพยาบาล
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดร่างกาย เเล้วนอนพักอยู่บนเตียงตลอดเวลาจนเข้าห้องผ่าตัด
1) อาหารและน้ำดื่ม ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง สำหรับอาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัดถ้าผู้ป่วยได้รับอาหารหรือน้ำเข้าไปในระยะเวลาที่ห้ามนี้ ต้องรีบรายงานให้แพทย์ทราบทันที
6) เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ พยาบาลต้องเตรียมให้พร้อมเพื่อที่จะใช้หรือนำไปห้องผ่าตัด
8) การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด ให้ผู้ป่วยนอนบนรถนอน (Stretcher) ห่มผ้าให้
เรียบร้อย ยกไม้กั้นเตียงขึ้น เจ้าหน้าที่ที่เข็นรถนอนต้องเข็นรถด้วยความนุ่มนวล ควรมีพยาบาลไปด้วย
7) แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย เพื่อส่งเข้าห้องผ่าตัด อธิบายและให้ผู้ป่วยเซ็นใบยินยอมให้แพทย์ทาการผ่าตัด กรณีผู้ป่วยยังไม่บรรลุนิติภาวะให้ผู้ปกครองที่มีอานาจตามกฎหมายเป็นผู้เซ็นแทน
9) การดูแลครอบครัวผู้ป่วย พยาบาลต้องแจ้งให้ครอบครัวทราบถึงเวลาที่ผู้ป่วยจะเข้าห้องผ่าตัด คอยรับผู้ป่วยเมื่อออกจากห้องผ่าตัด พยาบาลควรพูดปลอบโยนญาติในกรณีที่ญาติมีความวิตกกังวล
10)การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
(1) เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจ CBC และ Blood group ทันที ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
(2) ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อตรวจปัสสาวะ และให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
(3) ทำความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดให้เรียบร้อย ถอดอวัยวะปลอมต่างๆ
(4) ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นใบยินยอมผ่าตัด
(5) ถ้าผู้ป่วยไม่มีญาติมาด้วย พยาบาลต้องถามหรือหาที่อยู่ของครอบครัว เบอร์โทรศัพท์ของ ครอบครัว และรีบแจ้งให้ครอบครัวทราบโดยเร็วที่สุด
(6) วัดและบันทึกอาการ สัญญาณชีพ รวมทั้งการให้ยาก่อนผ่าตัด ลงในใบแบบฟอร์มก่อนผ่าตัด และใบแบบฟอร์มบันทึกทางการพยาบาลให้เรียบร้อย
(7) สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป อาการ และ สัญญาณชีพ ถ้าผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์ทราบ
5.2 การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
1 แบบแผนกิจกรรมและการออกกาลังกาย
1) ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
2) การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
2 แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
3 แบบแผนการขับถ่าย
มีดังนี้
ประวัติการเสียเลือด สารน้ำทางปัสสาวะ การขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลังผ่าตัด
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
5) การทางานของไต
4 แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
5 แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
2 กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
1 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง และคงไว้ซึ่งการทำงานระบบหายใจ
1) การจัดท่านอน ให้นอนราบไม่หนุนหมอน ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งยกเว้นในรายที่ได้รับยาชาเข้าทางไขสันหลังให้นอนราบอย่างน้อย 6-12 ชั่วโมง
2) สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
3) กระตุ้นให้ผู้ปุวยหายใจเข้าออกลึกๆ และไออย่างมีประสิทธิภาพ
4) เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ ในรายที่ไม่รู้สึกตัวควรพลิกตะแคงให้ทุก 1-2 ชั่วโมง และในรายที่รู้สึกตัวดีควรจัดให้นอนในท่าศีรษะสูง (Fowler’s position) ควรส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการลุกนั่งบนเตียงโดยเร็วและลุกขึ้นเดินได้ภายใน 24 ชั่วโมง
5) กระตุ้นให้ทากิจวัตรประจาวันด้วยตนเองเพื่อเพิ่มกิจกรรมการเคลื่อนไหว
6) ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
7) สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นสัญญาณชีพ รวมถึงค่าออกซิเจนในเลือด
8) ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์และให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
3 การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด โดยพยาบาลประเมิน
ความเจ็บปวดของผู้ป่วยโดยใช้ Pain scale ดูและให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
6 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
3) ทำความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
2) สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ โดยเฉพาะแผลมีการติดเชื้อ
1) สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
4) สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลแผล และวิธีการส่งเสริมการหายของแผล
2 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
6) สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจโดยเฉพาะในรายที่มีการเต้นหัวใจผิดปกติ กล้ามเนื้อหัวใจตายหลังผ่าตัด
2) สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ ที่ออกจากร่างกายผู้ป่วยรวมถึงประเมินการสูญเสียสารน้าที่เกิดขึ้นหากพบความผิดปกติให้รายงานแพทย์
1) ตรวจวัดสัญญาณชีพทึก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
7) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ
3) ดูแลให้ได้รับสารน้ำ เลือด หรือพลาสมาทดแทนทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา และติดตามอาการของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
5) เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
4) ควรให้ผู้ป่วยนอนพักนิ่งๆ ในบริเวณที่มีเลือดออกมากๆ
7 การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1) เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ และอาการแสดงของการติดเชื้อ
2) การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นข้อจากัดหลังผ่าตัด
3) การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ปุวย อาหารที่ควรรับประทานหรือควรงด การรับประทานยา การสังเกตอาการข้างเคียงของยาที่ได้รับ
4) การดูแลความสะอาดของร่างกาย
5) การมาตรวจตามแพทย์นัด
4 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
2) ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
3) สังเกตและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ถึงการย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ
1) กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกออกจากเตียง หรือจัดท่านอนศีรษะสูง
5 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
2) การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับความสะอาดของร่างกายทั่วไป
1) ดูแลความสุขสบายทั่วไป ควรซักถามความไม่สุขสบายที่เกิดจากสาเหตุต่างๆ และการดูแลแก้ไขตามอาการ
3) ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบ
5.3 การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
2 การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
3 วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ปฏิบัติดังนี้
1) แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
2) นำหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็น เอาออกจากเตียง
3) พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหวร่างกาย
4) พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง โดยใช้วิธีสอดมือเข้าไปในตาแหน่งของร่างกายที่จะยกเพื่อรองรับน้ำหนักร่างกายส่วนนั้น
2 การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย พยาบาลควรประเมินดังนี้
1) ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
2) ท่าที่เป็นข้อห้ามของผู้ป่วย
3) ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
4) ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
5) ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
6) ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
7) ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
1 หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1) ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
2) หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
3) ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
4) ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร และเฉียงปลายเท้าไปตามทิศทางที่ต้องการเคลื่อนย้าย และอยู่ในสมดุลเมื่อต้องการเคลื่อนไปทางหัวเตียงหรือปลายเตียง
5) หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
6) ย่อเข่าและสะโพก
7) หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
8) ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
9) ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
10) ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแทนการเลื่อนผู้ป่วย
11) ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
12) ผู้ปุวยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปและให้สัญญาณขณะยก หรือใช้อุปกรณ์ที่ช่วยผ่อนแรงมาใช้เมื่อจำเป็น
4 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
1 ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
2) Walker หรือ Pick – up framesเหมาะสาหรับผู้ป่วยที่มีอายุมากและการทรงตัวไม่ดีนัก
3) Cane เป็นการเดินด้วยไม้เท้าอันเดียว ผู้ป่วยต้องมีมั่นคงในการเดิน
1) Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน เป็นเครื่องช่วยเดินที่ให้ความมั่นคงที่สุด
4) Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ายัน ) ใช้ได้กับผู้ป่วยที่ค่อนข้างแข็งแรง หรือมีการทรงตัวดี
2 ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
1) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามในการรับน้้หนักเต็มทั้งขา (Partial weight bearing) ข้างนั้น
2) ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามหรือมีการอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้ำหนักได้ (Non – weight bearing)
3) เพิ่มการพยุงตัว (Support) เพื่อให้สามารถทรงตัวได้ (Balance)
3 การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
1) การฝึกความแข็งแรง (Strength) ความทนทาน (Endurance) และการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ (Co – ordination) ที่ใช้ในการเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
2) การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright) บนเตียงหรือเบาะ
3) การฝึกในราวคู่ขนาน
4 การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status) ผู้ป่วยจะต้องลง
น้าหนักตามแผนการรักษา
5 รูปแบบการเดิน
4) Swing – to gait วิธีนี้เหมาะที่สุดสาหรับผู้ป่วยที่มีการจากัดในการใช้ขาทั้ง
2 ข้าง ร่วมกับมีความไม่มั่นคงของลำตัว สามารถใช้ได้กับไม้ค้ำยัน และ Walke
5) Swing – through gait เป็นรูปแบบการเดินที่ก้าวหน้ามาจาก Swing –
to gait วิธีนี้ทาให้เดินได้เร็วขึ้นกว่าFour – point gait และ Swing – to gait
3) Three – point gait เป็นรูปแบบการเดินที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
2) Two – point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความก้าวหน้าขึ้นจาก Four –
point gait ต้องใช้การทรงตัวและความมั่นคงมากกว่า
1) Four – point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความมั่นคงมากที่สุด
1 การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
2 ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
2) การเตรียมตัวพยาบาล พยาบาลควรยืนในท่าที่ถูกต้อง พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
1) การเตรียมผู้ป่วย ให้เอาหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนไว้ที่พนักหัวเตียง ปรับระดับเตียงให้อยู่ในแนวราบพร้อมทั้งดูแลความปลอดภัยของผู้ป่วย
3) การจัดท่าผู้ปุวย
(2) ท่านอนตะแคง (Lateral or Slide-lying position)
(3) ท่านอนคว่ำ (Prone position) ไม่ควรจัดให้นอนท่านี้ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
(1) ท่านอนหงาย (Dorsal or Supine position)
(4) ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ (Semiprone position)
(5) ท่านั่งบนเตียง (Fowler’s position)
(6) ท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position)
(7) ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง (Lithotomy position)
(8) ท่านอนคว่าคุกเข่า (Knee-chest position)
(9) ท่านอนศีรษะต่าปลายเท้าสูง (Trendelenburg position)
1 การประเมินผู้ป่วย
1) ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
2) ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
3) ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
4) ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย
3 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
1 การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
6) งอและเหยียดนิ้วเท้า
7) เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพก ต้นขา
5) งอข้อเท้า
4) เหยียดข้อเข่า
3) กางและหุบข้อตะโพก
2) หมุนข้อตะโพก
1) ให้ผู้ปุวยงอและเหยียดข้อตะโพก
2 การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
โดยพยาบาล 1 คน ปฏิบัติดังนี้
(1) กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว เมื่อช่วยผู้ป่วยลงจากเตียงแล้ว พยาบาล
ยืนเยื้องด้านหลังผู้ป่วย ใช้มือ 2 ข้างยืดเข็มขัดหรือผ้าคาดเอวเพื่อพยุงผู้ป่วยขณะผู้ป่วยเดิน
(2) กรณีไม่ใช้เข็มขัด ให้ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วย มือไกลตัวจับที่ปลายแขนของผู้ป่วย ถ้าผู้ป่วยเป็นลมให้สอดแขนเข้าใต้รักแร้รับน้าหนักตัวผู้ป่วยและแยกเท้ากว้างดึงตัวผู้ป่วยขึ้นมาข้างตัวพยาบาลโดยใช้ สะโพกรับน้ำหนักตัวผู้ป่วย และค่อยๆ วางตัวผู้ป่วยลงบนพื้น
โดยพยาบาล 2 คน
ให้พยาบาลยืนข้างผู้ป่วยคนละด้าน มือพยาบาลข้างใกล้ตัวผู้ป่วยสอดใต้รักแร้ผู้ป่วยอีกข้างหนึ่งจับปลายแขนหรือมือผู้ป่วยข้างเดิมผู้ป่วยและพยาบาลทั้ง 2 คนเดินพร้อมกัน
5.5 กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
3 การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
1 ประเมินระดับความวิตกกังวล
2 เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
3 ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
4 ดูแลความสุขสบายทั่วไป
5 จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก
6 รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล จะสอดคล้องกับข้อมูลสนับสนุนที่รวบรวมได้จากการ
ประเมินสภาพผู้ปุวย
1 การประเมินสภาพผู้ป่วย รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล
5.4 การออกกาลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
2 การเคลื่อนไหวร่างกาย
1 ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
2 ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
3 ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
3 ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
7 ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
2) มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง (Hypoproteinemia) จากการนอนนาน ทำให้เบื่ออาหารรับประทานอาหารพวกโปรตีนน้อยลง
3) มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ (Self concept and Body image) จากการมีรูปร่างหรือภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปจากพยาธิสภาพของโรคหรือแผนการรักษา ต้องพึ่งพาบุคคลอื่นมากขึ้น
1) การเผาผลาญอาหารลดลง เนื่องจากความต้องการใช้พลังงานน้อยจากกาที่มีการเคลื่อนไหวน้อยหรือไม่มีการเคลื่อนไหว
4 ระบบทางเดินหายใจ
2) มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น เนื่องจากการพัดโบกของ Cilia เพื่อพัดเสมหะ
จากทางเดินอากาศส่วนล่างสู่ส่วนบนลดลงและในท่านอนราบเสหะจะไหลมาสู่ส่วนล่างของหลอดลม ทำให้ส่วนบนของหลอดลมแห้ง Cilia โบกพัดได้ลำบาก การขับเสมหะไม่มีประสิทธิภาพ
1) ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion) เนื่องจากการนอนหงายทำให้แรงกดด้านหน้า ด้านล่างจากน้ำหนักของทรวงอกที่กดลงบนที่นอนและอวัยวะในช่องท้อง ทำให้ปอดมีพื้นที่ในการขยายตัวจากัด
5 ระบบทางเดินอาหาร
1) มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทำให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย กังวลใจจากการนอนเฉยๆ และโรคที่ เป็นอยู่ความต้องการพลังงานลดลง เป็นสาเหตุให้เกิดการขาดสารอาหาร
2) มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก (Constipation)
2 ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
1) กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis) พบบ่อยที่กระดูกขา ตัวกระดูกสัน
หลัง และกระดูกเท้า
2) การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน ทำให้
กล้ามเนื้อบางส่วนที่ช่วยในการเคลื่อนไหวร่างกายมีอาการอ่อนแรง
3) กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
4) ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension) พบในการเปลี่ยนท่าจากท่านอนเป็นท่านั่งหรือยืน
6 ระบบทางเดินปัสสาวะ
1) การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
2) มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis) และกระเพาะปัสสาวะสูญเสียหน้าที่
3) เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Renal Calculi)
.1 ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ พบในผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยที่อ้วนมากหรือผอมมาก
มีสาเหตุดังนี้
1) เกิดแรงกดทับ (Pressure) ระหว่างปุมกระดูกกับที่นอนที่รองรับในการนอนในท่าต่าง ๆ ทำให้เซลล์ขาดออกซิเจน
2) เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
3) การเสียดทาน (Friction) เมื่อผู้ป่วยถูกลากหรือเลื่อนตัว ทำให้ผิวหนังขูดกับที่นอน
4) แรงดึงรั้ง (Shearing force) เกิดจากแรงกดทับและการเสียดทานที่เกิดขึ้นพร้อมกัน
1 การออกกำลังกาย
3 การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทาร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active
assistive exercise) วิธีนี้ให้ผลดีกว่าวิธีที่ให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
4 การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or
Static exercise)
2 การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise)
5.4.1.5 การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise) เป็น
การใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ให้ผู้ป่วยออกแรงต้าน
1 การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)