Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
สอบถามข้อมูลจากผู้ป่วยและญาติ
การทบทวน แฟ้มประวัติของผู้ป่วย ใบส่งตัว
หรือใบบันทึกต่างๆ
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สำคัญซึ่งอาจมีผลต่อการผ่าตัด
ประวัติโรคประจำตัว
อาการ ความรุนแรงของโรค
ภาวะแทรกซ้อนของโรค
ประวัติการรักษา ยาที่ใช้ประจำ
ประวัติการผ่าตัด และการได้รับยา
ระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้
วิธีการให้ยาระงับความรู้สึก และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
การใส่ท่อหายใจยาก
อาการคลื่นไส้ อาเจียนหลังผ่าตัด
การฟื้นจากยาสลบช้า
การบาดเจ็บของไขสันหลังหรือเส้นประสาท
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับ
การได้รับยาระงับ ความรู้สึก
เกี่ยวข้องกับโรคทางพันธุกรรม
ที่มีผลต่อการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ
โรคความดันโลหิตสูง
โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ
โรคที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
การตรวจร่างกาย
เป็นการประเมินผู้ป่วยเพิ่มเติมจากการซักประวัติ
เพื่อช่วย บอกถึงโรคหรือความผิดปกติที่อาจไม่ได้ข้อมูลจากการซักประวัติ และเป็นแนวทางในการส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ
สัญญาณชีพ
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจร่างกายตามระบบ
เน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือ
บริเวณที่จะทำการผ่าตัด
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการซักประวัติ
และตรวจร่างกาย
ใช้เป็น Screening tests
ยืนยันการวินิจฉัยโรค บอกถึงความ รุนแรงของโรค
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย ซึ่งระยะเวลาก่อนผ่าตัด
ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่ม ตระหนักว่ามีบางสิ่งผิดปกติ
และแพทย์วินิจฉัยว่าต้องผ่าตัด
ผู้ป่วยควรได้รับการเตรียมตัวก่อนผ่าตัดให้พร้อมที่สุด
ด้านร่างกาย
เพื่อป้องกันหรือลดความผิดปกติ
หรือภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
เพื่อดูว่าร่างกายสามารถทนต่อการผ่าตัดได้หรือไม่
ดูความสามารถในการส่งเลือดไปเลี้ยงทั่วทั้งร่างกาย
และประเมินปริมาณ และคุณภาพของเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ประเมินสภาวะของปอดและหลอดลม
ดูการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมินสภาวะของไต
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ การ ได้รับอาหารที่ดีมีประโยชน์ที่เพียงพอ และถูกส่วน
เพื่อให้ผู้ป่วยทนต่อการผ่าตัด
ช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น
ภาวะสารน้ำและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
ประเมินสภาวะความ สมดุลของสารน้ำ
และอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
การพักผ่อนและการออกกาลังกาย
ต้องได้รับการพักผ่อนที่ดี
และมีการออกกาลังกายที่พอเหมาะ
ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ ที่ผู้ป่วยควรทราบ
ลดความวิตกกังวล
ด้านจิตใจ
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด ควรได้รับการเตรียมทางจิตใจทุกคน
เพื่อช่วยลดความวิตกกังวล ความกลัว
พยาบาลควรให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลจริง ทำความเข้าใจ
และแก้ไขเกี่ยวกับความเชื่อผิดๆ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความรู้สึกที่กังวลออกมา
การให้คำแนะนาการปฏิบัติหลังผ่าตัด
รวมทั้งการฝึกทักษะการปฏิบัติตัวใน ระยะหลังผ่าตัด
ช่วยป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ที่อาจเกิดขึ้นได้
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
Early ambulation
ยกเว้นมีข้อห้ามหรือการผ่าตัดบางอย่าง
ที่ต้องให้ ผู้ปรวย Absolute bed rest
ก่อนลุกจากเตียงควรมีการเตรียมพร้อมกล้ามเนื้อขา
เพื่อช่วยในการลุกเดิน
3 more items...
Quadriceps Setting Exercise (QSE)
การออกกาลังกายกล้ามเนื้อต้นขา (Quadriceps muscle)
Rectus femeris
Vastus lateralis
Vastus medialis
Vastus intermediate
Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
ออกกำลังขา ข้อสะโพก และกล้ามเนื้อต้นขาแบบยกขาขึ้นตรงๆ
นอนราบยกขาข้างที่ไม่ใช้อุปกรณ์ขึ้นตรงๆ
Range of Motion (ROM)
การออกกาลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหว
ใน ทุกทิศทางปกติของข้อต่าง ๆ
Deep-breathing exercises
โดยจัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงายศีรษะ สูง
วางมือทั้ง 2 ข้างบนหน้าอกส่วนล่าง แล้วให้กำมือหลวมๆ ให้นิ้วมือสัมผัสกับหน้าอก
2 more items...
Effective cough
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย
ประสานมือทั้ง 2 ข้าง และกดเบาๆ เหนือบริเวณ
ที่คิดว่าจะมีแผลผ่าตัด
2 more items...
Abdominal breathing
บางรายที่มีอาการปวดแผลหรือรับการผ่าตัด
บริเวณทรวงอก ให้หายใจเข้าออกโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องแทนทรวงอก
เพื่อให้ทรวงอกเคลื่อนไหว
น้อยลงในระยะแรกหลังผ่าตัด
Turning and ambulation
ผู้ป่วยใช้มือที่ไม่มีน้ำเกลือ ยันที่นอนและพยุงตัวขึ้น ลุกนั่งด้วยตนเองให้ตะแคงข้างที่ไม่มีน้าเกลือและใช้แขนข้างนั้น ยันที่นอนและพยุงตัวขึ้น
ควรทำทันทีที่อาการดีขึ้น
Extremity exercis
นอนในท่าหัวสูงเล็กน้อยหรือนอนในท่าที่ สบาย
ทำการออกกาลังแขนหรือขาทีละข้างโดยเฉพาะการเหยียดออกและงอเข้าของทุกข้อ
ยกเว้นในราย ที่มีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวหลังผ่าตัด
Pain management
หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะได้รับการระงับความเจ็บปวด
การได้รับยาแก้ปวดทางหลอดเลือดดำ
พยาบาลควรสอนที่ช่วยในการระงับความ
เจ็บปวดควบคู่กันไป
ใช้หมอนหรือฝ่ามือทั้งสองข้างในการพยุงแผลขณะไอ
1 more item...
การจัดท่านอนศีรษะสูงหรือการยกเท้าสูง
2 more items...
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
อาหารและน้าดื่ม
ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สาหรับอาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
ถ้าผู้ป่วยปากแห้ง ให้ผู้ป่วยบ้วนปากบ่อยๆ
ได้รับอาหาร หรือน้กเข้าไปในระยะเวลาที่ห้ามนี้
แพทย์อาจเลื่อนการผ่าตัด ออกไป หรืออาจใส่สายเข้าไปที่กระเพาะอาหาร เพื่อดูดเอาอาหารในกระเพาะอาหารออกมา
การขับถ่าย
ถ้าเป็นการผ่าตัดใหญ่หรือผ่าตัดเปิดสู่ช่องท้อง
แพทย์จะให้มีการสวนอุจจาระก่อนผ่าตัด
ผ่าตัดเล็ก
สวนอุจจาระหรือไม่ก็ได้ หรือให้รับประทานยาระบายก่อนวันผ่าตัด
กระเพาะปัสสาวะควรว่าง เมื่อจะเข้าห้องผ่าตัดโดยให้
ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะก่อนผ่าตัด หรือคาสายสวนปัสสาวะไว้ตามแผนการรักษา
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
เพื่อเป็นการ ลดจานวนจุลินทรีย์ การเตรียมบริเวณ
ที่จะผ่าตัดต้องเตรียมให้กว้างกว่าบริเวณที่จะผ่าตัดจริง
กาจัดขน และสิ่งสกปรกต่างๆ ถ้าผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดมีเม็ดผื่นหรือมีการติดเชื้อเกิดขึ้น
แพทย์อาจต้องเลื่อนการ ผ่าตัด
บริเวณศีรษะ
เตรียมบริเวณลงมาถึงแนวกระดูกไหปลาร้าทั้งหน้าและหลัง ไม่ ต้องเตรียมบริเวณใบหน้า
บริเวณหูและปุ่มกระดูกมาสตอยด์
เตรียมบริเวณกว้างเป็นวงรอบออกไปจากหู
บริเวณคอ
เตรียมบริเวณจากใต้คางลงมาถึง ระดับราวหัวนม
และจากหัวไหล่ข้างขวาถึงข้างซ้าย
บริเวณทรวงอก
เตรียมด้านหน้าจากคอตอนบน จนถึงระดับสะดือจากแนวยาวของหัวนมข้างที่ไม่ได้ทาผ่าตัดไปจนถึงกึ่งกลางหลังของข้างที่ทำ
บริเวณช่องท้อง
เตรียมตั้งแต่ระดับรักแร้ลงมาถึงฝีเย็บ
บริเวณท้องต่ากว่าสะดือ
เตรียมบริเวณตั้งแต่ ระดับราวนมลงมาถึงต้นขา
รวมทั้งบริเวณฝีเย็บด้วย
ไต
เตรียมด้านหน้าจากบริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และต้นขา ทั้ง 2 ข้าง ด้านข้างจากรักแร้ถึงตะโพก ด้านหลังจากแนวกึ่งกลางลาตัวด้านหน้าอ้อมไปจนถึงกระดูกสันหลัง ซีกของ ไตข้างที่จะทาการผ่าตัดนั้น
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
เตรียมตั้งแต่ระดับสะดือ ลงมาถึงฝีเย็บ
และด้านในของต้นขาและก้น
แขน ข้อศอก และมือ
เตรียมบริเวณแขนข้างที่จะทาผ่าตัดทั้งด้านหน้าและ ด้านหลัง จากหัวไหล่ถึงปลายนิ้วมือ รวมทั้งโกนขนรักแร้ ตัดเล็บให้สั้น
ตะโพกและต้นขา
เตรียมบริเวณจากระดับเอวลงมาถึงระดับต่ากว่า หัวเข่า
การทำ Skin graft ทำความสะอาดผิวหนังทั้งบริเวณ Donor site และ Recipient site ให้กว้าง
หัวเข่า
เตรียมจากขาหนีบถึงข้อเท้าข้างที่จะทาผ่าตัดโดยรอบ
ปลายขา
เตรียมจากเหนือหัวเข่า ประมาณ 8 นิ้ว ลงมาถึงเท้า
ข้างที่จะผ่าตัด ตัดเล็บเท้าให้สั้น และทาความสะอาดเล็บ
เท้า
เตรียมจากใต้หัวเข่าลงไปถึงเท้าข้างที่จะทาผ่าตัด
ตัดเล็บเท้าให้สั้นและ ทาความสะอาดเล็บ
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน
ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
บ่งบอกการทางานของหัวใจและหลอด เลือด
โดยการประเมินการหายใจ ความสามารถในการหายใจ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ การประเมินที่สาคัญ
ประวัติการ ได้รับและสูญเสียสารน้ำและเกลือแร่
ตั้งแต่ก่อนผ่าตัดจนถึงหลังผ่าตัด
ชนิดและปริมาณของสารน้าที่ได้รับ และออกจากร่างกาย
ภาวะโภชนาการ และปริมาณแคลอรี่ของอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน
แบบแผนการขับถ่าย
ประวัติการเสียเลือด สารน้ำทางปัสสาวะ
การขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลังผ่าตัด
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
ปัสสาวะขุ่น
ท้องผูก
การทางานของไต
การประเมินภาวะไม่สมดุลสารน้าและเกลือแร่
จาก การเสียหน้าที่ของไต การมีของเสียคั่ง
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ประเมินความรู้ความเข้าใจ และ
การยอมรับในการผ่าตัดที่เกิดขึ้น
ความร่วมมือในการปฏิบัติการรักษาพยาบาล
และการปฏิบัติตนเพื่อ ส่งเสริม ฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของตนเอง
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
ประเมินการรับรู้ และวิธีการ เปลี่ยนแปลงความเครียด
สังเกตพฤติกรรมตอบสนองต่อความเครียด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง และคงไว้ซึ่งการทางานระบบหายใจ ภายหลังการผ่าตัดระยะแรก
การจัดท่านอน
นอนราบไม่หนุนหมอน ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง ป้องกันลิ้นตก และการสาลักอาเจียน
ยกเว้นในรายที่ได้รับ ยาชาเข้าทางไขสันหลัง
ให้นอนราบอย่างน้อย 6-12 ชั่วโมง
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ
และไออย่างมีประสิทธิภาพ
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
ในรายที่ไม่รู้สึกตัวควรพลิกตะแคง ให้ทุก 1-2 ชั่วโมง
ในรายที่รู้สึกตัวดีควรจัดให้นอนในท่าศีรษะสูง
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจาวันด้วยตนเองเพื่อเพิ่มกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขณะอยู่บนเตียงและลดภาวะแทรกซ้อนจากการนอนท่าเดียวนานๆ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ติดตามผลการรักษาโดยการสังเกต บันทึกลักษณะสี กลิ่น และจำนวนของเสมหะ
สังเกต อาการข้างเคียงของยา
สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น สัญญาณชีพ รวมถึงค่าออกซิเจนในเลือด
ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์
และให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทางานของระบบหัวใจ
และไหลเวียน ปัญหาด้าน ระบบไหลเวียนที่พบบ่อยหลังผ่าตัด
ปัญหาด้าน ระบบไหลเวียนที่พบบ่อยหลังผ่าตัด
การเกิดความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะหัวใจเต้น ผิดปกติ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
โดยพยาบาลประเมิน ความเจ็บปวดของผู้ป่วย
โดยใช้ Pain scale ดู และให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ดูแลจัดท่าที่ เหมาะสมเพื่อลดการดึงรั้งของแผลผ่าตัด
แนะนำให้ทากิจกรรมที่เบี่ยงเบนความสนใจและกิจกรรมที่เป็น การกระตุ้นให้มีการหลั่งเอนโดรฟินเพื่อลดความรู้สึกเจ็บปวด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
เพื่อลดอาการท้องอืด แน่น ท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
และส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
การให้คำแนะนาก่อนกลับบ้านสาหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย พยาบาลจะให้การช่วยเหลือผู้ป่วยนั้นควรทราบข้อมูลต่างๆ
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
ความยากลาบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่า
หรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย
ความผิดปกติเกี่ยวกับผิวหนัง กระดูก หลอดเลือด
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมผู้ป่วย
การเตรียมตัวพยาบาล พยาบาลควรยืนในท่าที่ถูกต้อง
การจัดท่าผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วย
เกิดความสุขสบายขณะนอนพักบนเตียง
หรือเตรียมทาหัตถการ และปูองกันภาวะแทรกซ้อน
ที่เกิดจากท่านอนที่ไม่ถูกต้อง
ท่านอนหงาย (Dorsal or Supine position)
ท่านอนตะแคง (Lateral or Slide-lying position)
ท่านอนคว่ำ (Prone position)
ไม่ควรจัดให้นอนท่านี้ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ (Semiprone position)
ท่านั่งบนเตียง(Fowler’s position)
ท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position)
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง (Lithotomy position)
ท่านอนคว่าคุกเข่า (Knee-chest position)
ท่านอนศีรษะต่ำปลายเท้าสูง
(Trendelenburg position)
การช่วยบุคคลที่ด้อยสมรรถภาพ ทางกาย จิตใจ บุคคลที่เจ็บป่วยเรื้อรัง หรือบุคคลที่อยู่ในระยะพักฟื้น ได้ตระหนักถึงสมรรถภาพของตนเองที่ยัง เหลืออยู่ และนามาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดารงชีวิตและการทางานหรือจุดมุ่งหมายของการฟื้นฟู สมรรถภาพเพื่อปูองกันความพิการ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย
วิธีการเคลื่อนย้าย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกาลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
การช่วยเหลือผู้ปุวยในการหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน พยาบาลต้องทราบชนิดของ อุปกรณ์ช่วยเดิน (Gait aids) ประโยชน์ การเตรียมผู้ปุวยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน การลงน้ำหนักที่ ขาเวลาเดิน รูปแบบการเดิน
และวิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
เมื่อมีข้อห้ามในการรับน้ำหนักเต็มทั้งขา
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง
เมื่อมีข้อห้ามหรือมีการอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้ำหนักได้
เพิ่มการพยุงตัว (Support)เพื่อให้สามารถทรงตัวได้(Balance)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกความแข็งแรง (Strength) ความทนทาน (Endurance) และการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ
(Co – ordination) ที่ใช้ในการเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright) บนเตียงหรือเบาะ
การฝึกในราวคู่ขนาน
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status)
ผู้ป่วยจะต้องลงน้ำหนักตามแผนการรักษา
รูปแบบการเดิน (Gait pattern)
Four – point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความมั่นคงมากที่สุด
Two – point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความก้าวหน้าขึ้นจาก Four – point gait ต้องใช้การทรงตัวและความมั่นคงมากกว่า
Three – point gait เป็นรูปแบบการเดินที่ใช้บ่อย
ในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ของขา 1 ข้าง
ผู้ปุวยตัดขา 1 ข้าง ผู้ปุวยขาหัก 1 ข้าง การเดินแบบนี้ใช้ได้ทั้งในกรณีที่ขาข้าง นั้นไม่สามารถรับน้าหนักได้
และรับน้ำหนักได้เพียงบางส่วน
Swing – to gait
วิธีนี้เหมาะที่สุดสาหรับผู้ป่วยที่มีการจากัดในการใช้ขาทั้ง 2 ข้าง ร่วมกับมีความไม่มั่นคงของลำตัว
สามารถใช้ได้กับไม้ค้ายัน และ Walker
Swing – through gait เป็นรูปแบบการเดินที่ก้าวหน้ามาจาก Swing – to gait
ทำให้เดินได้เร็วขึ้นกว่า Four – point gait และ Swing – to gait มีความมั่นคงน้อย ที่สุดในรูปแบบการเดินทั้งหมด
เพื่อให้เดินได้อย่างปลอดภัย ผู้ปุวยจะต้อง
มีความแข็งแรงและการ ทรงตัวที่ดี
ผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน มีวิธีการวัดขนาด
และการสอนเดินโดย อุปกรณ์ช่วยการเดิน
ไม้ค้ำยันรักแร้ (Auxiliary crutches)
เป็นอุปกรณ์ช่วยเดินที่ควรใช้เป็นคู่ เนื่องจากมีจุดยึด
ตอนบนอยู่ที่รักแร้
ช่วยพยุงตัวได้ดีและแบ่งรับน้ำหนักได้ถึง 80% ของน้ำหนักตัว
การเดินโดยใช้ไม้ค้ำยันรักแร้
4–Pointgait
ใช้ใน ผู้ปุวยที่มีปัญหา ataxia มีอาการเจ็บปวดของแขนขาทั้งหมด หรือต้องการลดการลงน้าหนักที่ขา 2 ข้าง บางส่วน
ข้อเสีย
เดินได้ช้าและผู้ป่วยมักมีปัญหาในการเรียนรู้วิธีเดิน
2–Pointgait
มีความมั่นคงพอสมควร ใช้ในผู้ป่วย ataxia
และกรณีที่ต้องการลดการลงน้าหนักที่ขา 2 ข้าง
โดยจะลดการลงน้ำหนักได้ถึง 45 % ของน้ำหนักตัว
3–Pointgait
ใช้กรณีที่ต้องการไม่ให้ลงน้ำหนัก หรือให้ลงน้ำหนัก
บางส่วนที่ขาข้างใดข้างหนึ่ง และผู้ป่วยมีการทรงตัวดี
Swing-to gait
อาจจะต้องสวมกายอุปกรณ์เสริมขา (KAFO) เวลายืนและเดินด้วย
Swing-through gait
ต้องใช้พลังงานในการเดินมาก และผู้ป่วยต้องมีการทรงตัวที่ดี รวมทั้งกาลังแขน 2 ข้าง ก็ต้องดีมาก
Lofstrand crutch
ช่วยเพิ่มความมั่นคงของท่อนแขนส่วนปลายเวลายัน
ลงน้ำหนัก สามารถใช้เป็นคู่แทน Axillary crutches
ในผู้ป่วยที่มีการทรงตัวดี และมีความมั่นใจในการใช้
ผู้ป่วยสามารถปล่อยมือเพื่อไปทากิจกรรมอย่างอื่นขณะถือไม้ได้
ไม้เท้า (Cane)
ให้ความมั่นคงไม่มาก
และลดการลงน้ำหนักเฉพาะขาข้างใดข้างหนึ่ง
ไม้เท้า 3 ขา (Tripod cane)
ถ้าผู้ป่วยไม่ยันลงน้ำหนักลงแกนกลางของไม้
ก็ทำให้เสียความมั่นคง
ไม่สามารถใช้เดินขึ้น – ลงบันไดได้
Walker จะให้ Support มากที่สุดในช่วงการเดินเมื่อเทียบกับ Cane และ Crutches จึงช่วยเพิ่มความมั่นคงขณะเดินได้มากที่สุด และใช้เพื่อลดการลงน้าหนักที่ขาข้างใดข้างหนึ่งได้
ข้อเสีย
จากัดการใช้เฉพาะในบ้านและ
ไม่สามารถใช้เดินขึ้นลงบันไดได้
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง
(Active or Isotonic Exercise)
ทำให้กล้ามเนื้อมีความตึงตัวและแข็งแรง
การไหลเวียน โลหิตดี
การทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
การให้ผู้ป่วยยกแขนขาขณะนอนอยู่บนเตียง
การให้ ผู้ป่วยลุกเดินข้างเตียง
การออกกาลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
(Passive exercise)
ช่วยให้ข้อมีการเคลื่อนไหวและช่วยป้องกัน
การหดรั้งของกล้ามเนื้อผิดรูป
พยาบาลหรือญาติช่วยผู้ป่วยในการยกแขน ขา
ในผู้ป่วยรายที่เป็น อัมพาตหรือไม่รู้สึกตัว
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise)
เป็นการกระตุ้นให้กล้ามเนื้อมีการทำงานร่วมด้วย
การพยุงหรือช่วยเหลือผู้ป่วยในการลุก – นั่งข้างเตียง เดินข้างเตียง
การออกกาลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
เพื่อเพิ่มความตึงตัวและแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ป้องกันกล้ามเนื้อลีบ
การกระตุ้นให้ออกกำลังกายโดยการเกร็ง กล้ามเนื้อหน้าขา
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)
ช่วยให้กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่ขึ้น มีความแข็งแรง และทำงานได้ดี
เป็นการกระตุ้นกล้ามเนื้อให้แข็งแรงเร็วขึ้น ในผู้ป่วยที่ต้องพักรักษาตัวอยู่บนเตียงนานๆ และมีภาวะกล้ามเนื้อลีบเกิดขึ้น
การเคลื่อนไหวร่างกาย
การเคลื่อนไหวร่างกายใดๆ ในชีวิตประจำวัน
กลไกการเคลื่อนไหวร่างกาย
การใช้ร่างกายอย่างปลอดภัยมีประสิทธิภาพ
มีการ ประสานงานกันในการเคลื่อนไหวและดำรง
ความสมดุลระหว่างการมีกิจกรรม
ส่งเสริมและสนับสนุนการทางานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
เกิดแรงกดทับ (Pressure) ระหว่างปุ่มกระดูกกับที่นอน
ที่รองรับในการนอนในท่าต่าง ๆ ทำให้เซลล์ขาดออกซิเจน
เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
การเสียดทาน (Friction) เมื่อผู้ป่วยถูกลากหรือ
เลื่อนตัว ทำให้ผิวหนังขูดกับที่นอน
แรงดึงรั้ง (Shearing force) เกิดจากแรงกดทับ
และการเสียดทานที่เกิดขึ้น พร้อมกัน
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกผุเปราะบาง (Osteoporosis)
มีการสลายตัวมากกว่าการสร้างกระดูก
ภาวะการลงน้ำหนักหรือแรงกดต่อ กระดูกที่กระตุ้นให้
มีการสร้างกระดูกน้อยลงกว่าปกติทาให้เสี่ยงต่อการได้รับอันตราย
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
ส่งผลให้การเคลื่อนไหวของ ร่างกายบกพร่องเสี่ยง
ต่อการเกิดกลุ่มอาการเสื่อมจากการไม่ได้ใช้งาน
อาการปวดหลัง (Back pain)
เกิดการท่านอนที่ไม่ถูกต้อง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจทางานมากขึ้น จากการอยู่ในท่านอน
ทำให้ปริมาณเลือดกลับเข้าสู่หัวใจมากกว่าปกติ
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดาที่ขา
เนื่องจากการที่กล้ามเนื้อคลายตัวทำให้เกิดเลือดคั่ง
ในหลอดเลือดที่ขา หลอดเลือดจึงมีการขยายตัว
และความดันในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
ความดันต่าขณะเปลี่ยนท่า
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion) เนื่องจากการนอนหงาย ทำให้แรงกดด้านหน้า ด้านล่างจากน้ำหนักของทรวงอกที่กดลงบนที่นอนและอวัยวะ
ในช่องท้อง ทำให้ปอด มีพื้นที่ในการขยายตัวจากัด
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น เนื่องจากการพัดโบกของ Cilia เพื่อพัดเสมหะ จากทางเดินอากาศส่วนล่างสู่ส่วนบนลดลง และในท่านอนราบเสหะจะไหลมาสู่ส่วนล่างของหลอดลม
ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหารทำให้เบื่ออาหาร
มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก
การดื่มน้ำน้อยหรือขาดน้ำ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ
(Urinary stasis) และ กระเพาะปัสสาวะสูญเสียหน้าที่
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Renal Calculi)
มีแคลเซียม ในเลือดสูงจากการสลายตัวของกระดูก
ร่วมกับการมีปัสสาวะคั่งและสภาพปัสสาวะที่เป็นด่าง
ตกตะกอนในปัสสาวะ โดยเฉพาะแคลเซียมเป็นผลึก
และแปรเป็นก้อนนิ่ว
สาเหตุ
ขับถ่ายปัสสาวะเปลี่ยนแปลงเกิดนิ่ว
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญอาหารลดลง
เนื่องจากความต้องการใช้พลังงานน้อยจากการ
ที่มีการเคลื่อนไหวน้อยหรือไม่มีการเคลื่อนไหว
ระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง (Hypoproteinemia) จากการนอนนาน ทำให้เบื่ออาหารรับประทานอาหารพวกโปรตีนน้อยลง
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์
(Self concept andBody image) จากการมีรูปร่าง
หรือภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปจากพยาธิสภาพของโรค
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จาเป็นเพื่อนาไปสู่การวางแผนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
สอดคล้องกับข้อมูลสนับสนุนที่รวบรวมได้จากการ
ประเมินสภาพผู้ป่วย
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ไม่มีอันตรายและภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการผ่าตัด
ประเมินระดับความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก
และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวล
ร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวน
ผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก