Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับงานวิจัย, -สุนัขมีปีก -สุนัขบินได้, -สัตว์บกมี 4…
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับงานวิจัย
พัฒนาการของวิธีการแสวงหาความรู้
การแสวงหาความรู้อย่างไม่มีแบบแผน
1.1 การได้รับความรู้โดยบังเอิญ (By Chance)
เช่น เดินชมนิทรรศการที่เกี่ยวกับนาฏศิลป์
1.2 การได้รับความรู้โดยการลองผิดลองถูก (Trial and Error)
เช่น อยากแต่งชุดการแสดงแบบอีสานให้สวยและถูกต้อง เลยลองแต่งชุดการแสดงอีสานหลาย ๆ แบบ
1.3 การได้รับความรู้จากผู้รู้ (Authority)
เช่น การเรียนแต่งชุดเครื่องจากผู้ที่แต่งตัวจากนักแสดง
1.4 การได้รับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญหรือนักปราชญ์ (Expert or Wiseman)
เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมอบรมฟ้อนเมืองจากผู้เชี่ยวชาญ
1.5 การได้รับความรูู้จากประเพณีและวัฒนธรรม (Tradition and Culture
เช่น โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมสัมพันธ์ไทย-ลาว
1.6 การได้รับความรู้จากประสบการณ์ของตนเเอง (Personal Experience)
เช่น การแข่งขันนาฏศิลป์สร้างสรรค์
2.การแสวงหาความรู้ด้วยเหตุผล
2.2 วิธีอุปมาน หรือ อุุปนัย (Inductive Method)
เก็บรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงย่อยๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เราต้องการทร าบ (Collecting Data)
นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และสังเคราะห์(Analyzing and Synthesizing )
สรุปเป็นข้อเท็จจริงใหญ่ หรือความรู้ใหม่ (Drawing Conclusion )
เช่น แมวมี 4 ขา
2.3 วิธีอนุมาน - อุปมาน (Deductive - Inductive Method )
ใช้วิธีอนุมานในการตั้งเป็นสมมุติฐาน (Hypothesis Setting )
สรุปเป็นความรู้ใหม่ ( Drawing Conclusion )
ใช้วิธีอุปมานในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนํามาวิเคราะห์/สังเคราะห์และยืนยัน
หรือคัดค้านสมมุติฐานที่ตั้งไว้ (Data Collecting and Hypothesis Testing)
เช่น มะลิเป็นดอกไม้
2.1 วิธีอนุมาน หรือนิรนัย (Deductive Method หรือ Syllogistic Reasoning )
Minor Premise ข้อเท็จจริงยอย หรือเหตุการณ์เฉพาะกรณี
Conclusion ข้อสรุปซึ่งเกิดจากการพิจารณษความสัมพันธ์ระหว่าง Major และ Minor Premise ถ้าข้อเท็จจริงใหญ่และย่อยเป็นจริงข้อสรุปก็ต้องเป็นจริงด้วย
Major Premise ข้อเท็จจริงใหญ่หรือข้อเท็จจริงหลัก
เช่น สัตว์มีขนเป็นสัตว์บินได้
การแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการวิทยาศาสตร์
ขั้นตั้งสมมุติฐาน
ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา
ขั้นวิเคราะห์และตีความข้อมูล
ขั้นสรุป
คุณสมบัติ
ด้านความสามารถหรือทักษะพิสัย
ด้านเจตคติหรือจิตพิสัย
ด้านความรู้หรือพุทธิพิสัย
ความหมาย
หมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่และเพื่อนำความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์
ประเภทของการวิจัย
1.การจำแนกประเภทตามลักษณะข้อมูล
การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือการวิจัยเชิงคุณลักษะ(Qualitative Research )
การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research
การจำแนกประเภทตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์(Basic Research or Pure Research)
การวิจัยประยุกต์(Applied Research)
3.การจำแนกประเภทตามระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยเชิงบรรยายหรือเชิงพรรณา(Descriptive Research)
การวิจัยเชิงทดลอง (Exprimental Research)
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์(Historical Research)
ประโยชน์ของการวิจัย
ประโยชน์ต่อสังคม
ช่วยให้สังคมได้รับความรู้ใหม่ ๆ ซึ่งนับเป็นความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการทั้งทางด้านทฤษฏีและปฏิบัติ และช่วยให้สามารถนำความรู้นั้นไปใช้ในการบรรยายสภาพการ ปรากฏการณ์ ควบคุมสถานการณฺ แก้ปัญหา และพัฒนาปรับปรุง
ประโยชน์ต่อนักวิจัย
ช่วยให้นักวิจัยได้ความรู้ใหม่ที่กว้างขวาง ทำให้นักวิจัยเป็นผู้รอบรู้ ทันสมัยทางวิชาการอยู่เสมอแล้ว มีเหตุล และทำงานอย่างเป็นระบบ
ขั้นตอนของการวิจัย
การเลือกปัญหาและกำหนดปัญหา
2.การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.การเก็บรวบรวมข้อมูล
4.การวิเคราะห์ข้อมูล
5.การสรุปผลการวิจัย
-สุนัขมีปีก -สุนัขบินได้
-สัตว์บกมี 4 ขา -แมวเป็นสัตว์บก
-ดอกไม้มีกลิ่นหอม -มะลิมีกลิ่นหอม