Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกe…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกeลังกาย
5.1 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
5.1.1 การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
5.1.1.1 การซักประวัติ
1) ประวัติโรคประจำตัว
2) ประวัติการผ่าตัด และการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้
3) ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
4) การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
5) ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติ
6) ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
5.1.1.2 การตรวจร่างกาย
1) สัญญาณชีพ
2) การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
3) การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
4) การตรวจร่างกายตามระบบ โดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
5.1.1.3 การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) ข้อบ่งชี้ของการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆ
Complete blood count
Urinalysis
Electrolytes
BUN/Creatinine
Liver function tests
Coagulogram
Chest X-ray
ECG
2) ข้อแนะนำการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Screening tests)
ผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดใหญ่ ต้องตรวจทุกอย่างก่อนรับการผ่าตัด
อายุ> 60 ปี แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว ยกเว้น Coag
อายุ> 45 ปี แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว ต้องทำการตรวจ CBC CXR ECG
อายุ≤ 45 ปี แข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว ต้องทำการตรวจ CBC
5.1.2 การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
5.1.2.2 การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
1) อาหารและน้ำดื่มควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
2) การขับถ่าย ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็ก หรือการผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่องท้อง
3) การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด ต้องมีการเตรียมความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
(1) บริเวณศีรษะ โกนผมบริเวณศีรษะออก เช็ดใบหู และทำความสะอาดช่องหู
(2) บริเวณหูและปุ่มกระดูกมาสตอยด์
(3) บริเวณคอ
(4) บริเวณทรวงอก
(5) บริเวณช่องท้อง
(6) บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
(7) ไต เตรียมด้านหน้าจากบริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และต้นขา
(8) บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
(9) แขน ข้อศอก และมือ เตรียมบริเวณแขนข้างที่จะทำผ่าตัดทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
(10) ตะโพกและต้นขา เตรียมบริเวณจากระดับเอวลงมาถึงระดับต่ ากว่า หัวเข่า
(11) การทำ Skin graft ทำความสะอาดผิวหนัง
(12) หัวเข่า เตรียมจากขาหนีบถึงข้อเท้าข้างที่จะทำผ่าตัดโดยรอบ
(13) ปลายขา เตรียมจากเหนือหัวเข่า
(14) เท้า เตรียมจากใต้หัวเข่าลงไปถึงเท้าข้างที่จะทำผ่าตัด ตัดเล็บเท้าให้สั้นและทำความสะอาดเล็บด้วย
4) การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
(1) ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ให้ผู้ปุวยทำความสะอาดปาก ฟัน
ของปลอม ของมีค่าต่างๆ
สื่อไฟฟูาต่างๆ
ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้า ทาปาก ทาเล็บ
(2) ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
ให้ผู้ปุวยทำความสะอาดร่างกาย
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย ความกลัวการผ่าตัด
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป วัดและบันทึกสัญญาณชีพ อาการของผู้ปุวยลงในใบแบบฟอร์มผ่าตัด
5) การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัดแพทย์มักจะให้ยาในคืนวันก่อนผ่าตัดเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลและนอนหลับพักผ่อนได้ดี
6) เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ เช่น สายใส่จมูกถึงกระเพาะอาหาร
7) แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย
8) การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด ให้ผู้ป่วยนอนบนรถนอน (Stretcher) ห่มผ้าให้เรียบร้อย
9) การดูแลครอบครัวผู้ปุวย พยาบาลต้องแจ้งให้ครอบครัวทราบถึงเวลาที่ผู้ป่วยจะเข้าห้องผ่าตัด ควรให้ญาติมาดูแล
10) การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
(1) เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจ CBC และ Blood group ทันที
2) ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อตรวจปัสสาวะ
(3) ทำความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดให้เรียบร้อย
(4) ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นใบยินยอมผ่าตัด
(5) ถ้าผู้ป่วยไม่มีญาติมาด้วย พยาบาลต้องถามหรือหาที่อยู่ของครอบครัว
(6) วัดและบันทึกอาการ สัญญาณชีพ รวมทั้งการให้ยาก่อนผ่าตัด ลงในใบแบบฟอร์มก่อนผ่าตัด
(7) สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป อาการ และ สัญญาณชีพ ถ้าผิดปกติให้รีบรายงาน
แพทย์ทราบ
5.1.2.1 การเตรียมผู้ป่วย
1) ด้านร่างกาย
(1) ระบบหัวใจและหลอดเลือดดูความสามารถในการส่งเลือดไปเลี้ยงทั่วทั้งร่างกาย และประเมินปริมาณและคุณภาพของเลือดด้วย
(2) ระบบทางเดินหายใจ ต้องประเมินสภาวะของปอดและหลอดลม ดูการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
(3) ระบบทางเดินปัสสาวะ ต้องประเมินสภาวะของไต
(4) ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
2) ด้านจิตใจ
ควรได้รับการเตรียมทางจิตใจทุกคน โดยการเยี่ยม
ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด ประเมินความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด
3) การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด
(1)Early ambulation ยกเว้นมีข้อห้ามหรือการผ่าตัดบางอย่างที่ต้องให้ ผู้ป่วย Absolute bed rest ก่อนลุกจากเตียงควรมีการเตรียมพร้อมกล้ามเนื้อขา เพื่อช่วยในการลุกเดิน ได้แก่ SLRE QSE ROM เป็นต้น
(2)Quadriceps Setting Exercise (QSE) เป็นการออกกำลังกายกล้ามเนื้อต้นขา (Quadriceps muscle) ซึ่งมี 4 มัด คือ Rectus femeris, Vastus lateralis, Vastus medialis และ Vastus intermediate
(3)Straight Leg Raising Exercise (SLRE) เป็นการออกกำลังขา ข้อสะโพก และกล้ามเนื้อต้นขาแบบยกขาขึ้นตรงๆ โดยการนอนราบยกขาข้างที่ไม่ใช้อุปกรณ์ขึ้นตรงๆ
(4)Range of Motion (ROM) เป็นการออกก าลังข้อโดยมีการเคลื่อนไหวในทุกทิศทางปกติของข้อต่าง ๆ ซึ่งร่างกายของคนมีส่วนเคลื่อนไหวหลักๆ อยู่ 6 แห่ง คือ ศีรษะ ล าตัว แขน และขาทั้งสองข้าง
(5)Deep-breathing exercises โดยจัดผู้ปุวยให้อยู่ในท่านอนหงายศีรษะสูง วางมือทั้ง 2 ข้างบนหน้าอกส่วนล่าง แล้วให้กำมือหลวมๆ ให้นิ้วมือสัมผัสกับหน้าอก
(6)Effective cough โดย จัดให้ผู้ปุวยอยู่ในท่านั่งเอนไปข้างหน้าเล็กน้อยให้ผู้ป่วยประสานมือทั้ง 2 ข้าง และกดเบาๆ เหนือบริเวณที่คิดว่าจะมีแผลผ่าตัด
(7) Abdominal breathing ในบางรายที่มีอาการปวดแผลหรือรับการผ่าตัดบริเวณทรวงอก ให้หายใจเข้าออกโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องแทนทรวงอก
(8) Turning and ambulation ควรทำทุก 2 ช.ม.
(9) Extremity exercise ให้ผู้ปุวยนอนในท่าหัวสูงเล็กน้อย
(10) Pain management หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะได้รับการระงับความเจ็บปวด
5.2 การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
5.2.1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
5.2.1.1 แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
1) ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
2) การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
5.2.1.2 แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
ประวัติการได้รับและสูญเสียสารน้ าและเกลือแร่ ตั้งแต่ก่อนผ่าตัดจนถึงหลังผ่าตัด
ชนิดและปริมาณของสารน้ำที่ได้รับ
และออกจากร่างกาย
ภาวะโภชนาการ
ปริมาณแคลอรี่ของอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน
5.2.1.3 แบบแผนการขับถ่าย
1) ประวัติการเสียเลือด สารน้ำทางปัสสาวะ การขับถ่ายที่ปกติก่อนและหลังผ่าตัด
2) ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
3) การทำงานของไต
5.2.1.4 แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ประเมินความรู้ความเข้าใจ และ
การยอมรับในการผ่าตัดที่เกิดขึ้น
5.2.1.5 แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
ประเมินการรับรู้ และวิธีการเปลี่ยนแปลงความเครียด สังเกตพฤติกรรมตอบสนองต่อความเครียด
5.2.2 กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
5.2.2.1 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
1) การจัดท่านอน ให้นอนราบไม่หนุนหมอน
2) สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
3) กระตุ้นให้ผู้ปุวยหายใจเข้าออกลึกๆ
4) เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
5) กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
6) ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
7) สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
8) ถ้าผู้ปุวยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์และให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
5.2.2.2 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
1) ตรวจวัดสัญญาณชีพทึก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
2) สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
3) ดูแลให้ได้รับสารน้ำ เลือด หรือพลาสมาทดแทนทางหลอดเลือดด า
4) ควรให้ผู้ปุวยนอนพักนิ่งๆ ในบริเวณที่มีเลือดออกมากๆ
5) เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
6) สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจ
7) ดูแลให้ผู้ปุวยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
5.2.2.3 การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
โดยพยาบาลประเมินความเจ็บปวดของผู้ปุวยโดยใช้ Pain scale ดูและให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
5.2.2.4 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
1) กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกออกจากเตียง
2) ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
3) สังเกตและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ถึงการย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ
5.2.2.5 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ปุวย
1) ดูแลความสุขสบายทั่วไป
2) การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับความสะอาดของร่างกายทั่วไป
3) ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบ
5.2.2.6 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
1) สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
2) สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ โดยเฉพาะแผลมีการติดเชื้อ
3) ทำความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
4) สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลแผล และวิธีการส่งเสริมการหายของแผล
5.2.2.7 การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1) เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ และอาการแสดงของการติดเชื้อ
2) การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นข้อจำกัดหลังผ่าตัด
3) การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย อาหารที่ควรรับประทานหรือควรงดรับประทานยา การสังเกตอาการข้างเคียงของยาที่ได้รับ
4) การดูแลความสะอาดของร่างกาย
5) การมาตรวจตามแพทย์นัด
นายศราวุฒิ เป็งมูล เลขที่ 11 6201210255 Sec.B วิชา SN 213
💚
💗