Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน - หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน - หลังผ่าตัดการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
สัญญาณชีพ
การตรวจร่างกายตามระบบ
การส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ
E' lytes
BUN/Cr
ECG
BS
CXR
Coag
CBC
การซักประวัติ
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
การใช้ยา สารเสพติด
ประวัติการผ่าตัด
ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับความรุ้สึก
ประวัติโรคประจำตัว
ประวัติเกี่ยวกับดรคในระบบต่างๆ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
ด้านจิตใจ
ส่วนใหญ่จะมีความวิตกกังวลเมื่อรู้ว่าตนเองหรือบุคคลในครอบครัวต้องผ่าตัด ครวได้นับการเตรียมทางจิตใจทุกคน ประเมินความวิตกกังวลก่อนการผ่าตัด พยาบาลควรให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลจริง ขณะเดียวกันเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความรู้สึกที่กังวลออกมา
การให้คำแนะนำการปฎิบัติตัวหลังผ่าตัด
Deep-breathing exercises
Effective cough
Range of Motion (ROM)
Abdominal breathing
Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
Turing and ambulation
Quadriceps Setting Exercise (QSE)
Extremity exercise
Early ambulation
Pain management
ด้านร่างกาย
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมินความสมบรูณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
ระบบทางเดินหายใจ
ประเมินความสมดุลของสารน้ำ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การพักผ่อนและการออกกำลังกาย
ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ เพื่อลดความวิตกกังวล
การเตรียมผู่ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
การขับถ่าย
การเตรียมผิวหนังก่อนการผ่าตัด
บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ
ไต เตรียมด้านหน้าจากบริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และต้นขา
บริเวณช่องท้อง
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
บริเวณทรวงอก
แขน ข้อศอก และมือ
บริเวณคอ
ตะโพกและต้นขา
บริเวณหูและปุ่มกระดูกมาสตอยด์
การทำ Skin graft
บริเวณศีรษะ
หัวเขา
ปลายขา
เท้า
ขั้นตอนการเตรียมผิวหนัง
ถ้าเตรียมบริเวณที่สกปรกมาก ให้เช้ดด้วยเบนซินแล้วฟอกด้วยสบู่
โกนขน หรือ ผม
ปูผ้ายางรองกันเปื้อบริเวณที่จะเตรียมผ่าตัด
เมื่อโกนเสร็จใช้สบู่ล้างบริเวณนั้นให้สะอาด
บอกผู้ป่วยให้ทราบ กั้นม่าน ดูให้มีแสงสว่างเพียงพอ
เก็บผมหรือขน ใบมีดโกนที่ใช้แล้วห่อใส่กระดาษให้เรียบร้อย
เตรียมเครื่องใช้
อาหารและเครื่องดื่ม
ควรงดอาหารผู้ป่วยก่อนผ่าตัด 8 ชั่วโมง
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
การให้ยาแก่ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่ิงใช้ต่างๆ ที่พิเศษ
แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย
การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
การดูแลครอบครัวผู้ป่วย
การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บจากแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่องส่งเสริมการหายของแผล
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
ควรให้ผู้ป่วยนอนพักนิ่งๆ ในบริเวณที่มีเลือดออกมามากๆ เพื่อลดการเคลื่อนไหวซึ่งจะมีผลการทำให้เลือดออกมากขึ้น
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
ดูแลให้ได้นับสารน้ำ เลือด หรือพลาสมา
สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจโดยเฉพาะในรายที่มีการเต้นของหัวใจผิดปกติ
สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกายและจิตใจ
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
การให้คำแนะนำก่อนกลับสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง และคงไว้ซึ่งการทำงานระบบหายใจภายหลังการผ่าตัด
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตัวเองเพื่อเพิ่มกิจกรรมการเคลื่อนไหวขณะอยู่บนเตียงและลดภาวะแทรกซ้อนจากการนอนท่าเดียวนานๆ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
การจัดท่านอน ให้นอนราบไม่หนุนหมอน
ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์และให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย พยาบาลควรประเมินดังนี้
ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
ท่าที่เป็นข้อห้ามของผู้ป่วย
ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
นำหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็น
เอาออกจากเตียง
พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหว
ร่างกาย
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง โดยใช้วิธีสอดมือเข้าไปในตำแหน่งของ ร่างกายที่จะยกเพื่อรองรับน้ำหนักร่างกายส่วนนั้น
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ย่อเข่าและสะโพก
หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร
ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ปุวยแทนการเลื่อนผู้ป่วย
หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปและให้ สัญญาณขณะยก
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
กางและหุบข้อตะโพก
เหยียดข้อเข่า
หมุนข้อตะโพก
งอข้อเท้า หมุนข้อเท้าเข้าหาตัวและออกจากตัว
ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพก ต้นขา
งอและเหยียดนิ้วเท้า
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ปุวย เช่น ความผิดปกติเกี่ยวกับผิวหนัง กระดูก หลอด
เลือด
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมตัวพยาบาล
การจัดท่าผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ปุวยเกิดความสุขสบายขณะนอนพัก บนเตียงหรือเตรียมทำหัตถการ
การเตรียมผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status) ผู้ป่วยจะต้องลง น้ำหนักตามแผนการรักษา
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
รูปแบบการเดิน (Gait pattern) การฝึกเดินไม่ว่าจะใช้อุปกรณ์ช่วยเดินแบบใด จะ ใช้รูปแบบการเดินแบบใดแบบหนึ่ง
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน มีวิธีการวัดขนาดและการสอนเดินโดย อุปกรณ์ช่วยการเดิน
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ปุวยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ปุวยและให้ผู้ปุวยได้พัก
ประเมินระดับความวิตกกังวล
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ(Thrombus)
หัวใจทำงานมากขึ้น จากการอยู่ในท่านอนทำให้ปริมาณเลือดกลับเข้าสู่ หัวใจมากกว่าปกติ
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension)
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion) เนื่องจากการนอนหงาย ท าให้แรงกดด้านหน้า
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น เนื่องจากการพัดโบกของ Cilia เพื่อพัดเสมหะ จากทางเดินอากาศส่วนล่างสู่ส่วนบนลดลง
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
อาการปวดหลัง (Back pain) เกิดการท่านอนที่ไม่ถูกต้อง
ระบบทางเดินอาหาร
มีผลต่อการรับประทานอาหาร
มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก (Constipation)
ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ (Bed sore or Pressure sore or Decubitus ulcer) พบในผู้ป่วยสูงอายุ
เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
การเสียดทาน (Friction) เมื่อผู้ป่วยถูกลากหรือเลื่อนตัว ทำให้ผิวหนังขูดกับ
ที่นอน
เกิดแรงกดทับ (Pressure) ระหว่างปุ่มกระดูกกับที่นอนที่รองรับในการนอน ในท่าต่าง ๆ ทำให้เซลล์ขาดออกซิเจน
แรงดึงรั้ง (Shearing force) เกิดจากแรงกดทับและการเสียดทานที่เกิดขึ้น พร้อมกัน
ระบบทางเดินปัสสาวะ
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis)
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Renal Calculi)
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง (Hypoproteinemia)
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ (Self concept and Body image)
การเผาผลาญอาหารลดลง
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise) วิธีนี้ให้ผลดีกว่าวิธีที่ให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise) เพื่อเพิ่มความตึงตัวและแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise) เป็นการออกกำลังกายโดยการเคลื่อนไหวข้อต่างๆ
การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise) เป็น การใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ให้ผู้ป่วยออกแรงต้าน
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise) ผู้ป่วย จะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง