Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย -…
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน-หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อแนะนำการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Screening tests)
ข้อบ่งชี้ของการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆ
Electrolytes
BUN/Creatinine
Urinalysis
Complete blood count
Blood sugar
Liver function tests
Coagulogram
Chest X-ray
ECG
การตรวจร่างกาย
การชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
สัญญาณชีพ
การตรวจร่างกายตามระบบ
การซักประวัติ
ประวัติการผ่าตัด และการได้รับยาระงับความรู้สึกก่อนหน้านี้
ประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
ประวัติโรคประจำตัว
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ประวัติของคนในครอบครัวหรือญาติที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆ ของร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย ซึ่งระยะเวลาก่อนผ่าตัด
ด้านร่างกาย
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่พอเหมาะ
ภาวะสารน้าและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
ระบบทางเดินปัสสาวะ ต้องประเมินสภาวะของไต
การพักผ่อนและการออกกาลังกาย ต้องได้รับการพักผ่อนที่ดี
ระบบทางเดินหายใจ ต้องประเมินสภาวะของปอดและหลอดลม
ให้คาแนะนาและข้อมูลต่างๆ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ต้องประเมินความสามารถในการทางานของหัวใจ และหลอดเลือด
ด้านจิตใจ
การให้คาแนะนาการปฏิบัติหลังผ่าตัด รวมทั้งการฝึกทักษะการปฏิบัติตัวในระยะหลังผ่าตัด
ผู้ป่วยและครอบครัวส่วนใหญ่จะมีความวิตกกังวลเมื่อรู้ว่าตนเองหรือบุคคลในครอบครัวต้องผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
การขับถ่าย ถ้าเป็นการผ่าตัดเล็ก หรือการผ่าตัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในช่องท้อง
การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
อาหารและน้าดื่ม ควรงดอาหารผู้ปุวยก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง สาหรับอาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ปุวย ความกลัวการผ่าตัด
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป วัดและบันทึกสัญญาณชีพ
ให้ผู้ปุวยทาความสะอาดร่างกาย เปลี่ยนชุดสาหรับใส่เพื่อผ่าตัด และหวีผม เก็บผมให้เรียบร้อย แล้วนอนพักอยู่บนเตียงตลอดเวลาจนกว่าจะไปห้องผ่าตัด
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
สื่อไฟฟ้าต่างๆถอดออก
ไม่ให้ผู้ปุวยแต่งหน้า ทาปาก ทาเล็บ
ของปลอม ของมีค่าต่างๆ ถอดเก็บไว้ให้ญาติดูแลรักษา
ให้ผู้ป่วยทาความสะอาดปาก ฟัน
การให้ยาแก่ผู้ปุวยก่อนผ่าตัด แพทย์มักจะให้ยาในคืนวันก่อนผ่าตัดเพื่อช่วยให้ผู้ปุวยคลายความวิตกกังวลและนอนหลับพักผ่อนได้ดี
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ที่พิเศษ
แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบ และรวบรวมให้เรียบร้อย
การส่งผู้ปุวยไปห้องผ่าตัด ให้ผู้ปุวยนอนบนรถนอน (Stretcher) ห่มผ้าให้เรียบร้อย ยกไม้กั้นเตียงขึ้น
การดูแลครอบครัวผู้ปุวย พยาบาลต้องแจ้งให้ครอบครัวทราบถึงเวลาที่ผู้ปุวยจะเข้าห้องผ่าตัด
การเตรียมผ่าตัดผู้ปุวยฉุกเฉิน
ทำความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัดให้เรียบร้อย
ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นใบยินยอมผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้
ถ้าผู้ป่วยไม่มีญาติมาด้วย พยาบาลต้องถามหรือหาที่อยู่ของครอบครัว
เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจ CBC และ Blood group
วัดและบันทึกอาการ
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป อาการ และ สัญญาณชีพ
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ปุวยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
ความยากลาบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่าหรือเมื่ออยู่ในท่าที่จัดให้
ความสามารถของผู้ปุวยในการช่วยเหลือตนเอง
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
การเตรียมตัวพยาบาล พยาบาลควรยืนในท่าที่ถูกต้อง
การจัดท่าผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ปุวยเกิดความสุขสบายขณะนอนพัก
การเตรียมผู้ป่วย ให้เอาหมอนหนุนศีรษะของผู้ปุวยออก
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
ส่วนที่จาเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
ท่าที่เป็นข้อห้ามของผู้ปุวย
ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
ย่อเข่าและสะโพก
ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร และเฉียงปลายเท้าไปตามทิศทางที่ต้องการเคลื่อนย้าย
หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
หันหน้าเข้าหาผู้ปุวยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ปุวยแทนการเลื่อนผู้ป่วย
ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
นำหมอนหนุนศีรษะของผู้ปุวยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง
พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคงและใช้หลักการของกลไกการเคลื่อนไหวร่างกาย
แจ้งให้ผู้ปุวยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามหรือมีการอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้าหนักได้ (Non – weight bearing)
เพิ่มการพยุงตัว (Support) เพื่อให้สามารถทรงตัวได้ (Balance)
ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้าหนักแทนขา 1 หรือ 2 ข้าง เมื่อมีข้อห้ามในการรับน้าหนักเต็มทั้งขา (Partial weight bearing) ข้างนั้น
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
Walker หรือ Pick – up frames
Cane
Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน
Crutches ( ไม้ยันรักแร้ , ไม้ค้ายัน )
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ปุวยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
กรณีไม่ใช้เข็มขัด ให้ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วย
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว
กรณีไม่ใช้เข็มขัด ให้ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วย
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย เพื่อลดอาการท้องอืด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ โดยเฉพาะแผลมีการติดเชื้อ
ทำความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลแผล
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
การให้คำแนะนาก่อนกลับบ้านสาหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ปุวย อาหารที่ควรรับประทานหรือควรงด
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นข้อจากัดหลังผ่าตัด
การมาตรวจตามแพทย์นัด
เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ และอาการแสดงของการติดเชื้อ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทางานของระบบหัวใจและไหลเวียน
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง และคงไว้ซึ่งการทำงานระบบหายใจภายหลังการผ่าตัดระยะแรก
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนการขับถ่าย
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนกิจกรรมและการออกกาลังกาย
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวลร่วมกับผู้ปุวยและญาติ
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ปุวยและให้ผู้ป่วยได้พัก
ประเมินระดับความวิตกกังวล
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด
ความรู้สึกของผู้ป่วยเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
รวบรวมข้อมูลที่จาเป็นเพื่อนาไปสู่การวางแผนการพยาบาล
ความยินยอมที่จะเข้ารับการผ่าตัด
การออกกาลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ส่งเสริมและสนับสนุนการทางานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion)
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
อาการปวดหลัง (Back pain)
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
ระบบผิวหนัง ผิวหนังเสียหน้าที่ทาให้เกิดแผลกดทับ (Bed sore or Pressuresore or Decubitus ulcer) พบในผู้ปุวยสูงอายุ
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทาให้ผู้ปุวย (Passive exercise)
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทาร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Activeassistive exercise)
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทางานแต่ข้อไม่เคลื่อน
(Isometric or Static exercise)
การออกกำลังกายให้ผู้ปุวยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)