Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน และ หลังผ่าตัด การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย …
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อน และ หลังผ่าตัด
การเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
การตรวจประเมินทางระบบหายใจ
การตรวจร่างกายตามระบบ เน้นบริเวณที่จะผ่าตัด
สัญญาณชีพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
ประวัติการแพ้ยา หรือ แพ้อาหาร
การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และการดื่มสุรา
ประวัติการผ่าตัด
โรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประวัติโรค
ประวัติเกี่ยวกับโรคของระบบต่างๆของร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย ซึ่งระยะเวลาก่อนผ่าตัด
ด้านร่างกาย
ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกาย
ในการรับอาหารที่พอเหมาะ
ภาวะสารน้ำและอีเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การพักผ่อนและการออกกำลังกาย
ระบบทางเดินหายใจ
ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆแก่ผู้ป่วย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ด้านจิตใจ
ประเมินความวิตกกังวลก่อนผ่าตัด
การให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
Early ambulation
Quadriceps Setting Exercise (QSE)
Straight Leg Raising Exercise (SLRE)
Range of Motion (ROM)
Deep-breathing exercises
Effective cough
Abdominal breathing
Turning and ambulation
Extremity exercise
Pain management
การเตรียมผู้ปุวยก่อนวันที่ผ่าตัด
อาหารและน้ำดื่ม
งดอาหารก่อนผ่าตัด 8 ชั่วโมง
งดอาหารเหลวก่อนผ่าตัด 6 ชั่วโมง
การขับถ่าย
ผ่าตัดเล็ก - ไม่ต้องสวนอุจจาระ
ผ่าตัดใหญ่ - สวนอุจจาระก่อนผ่าตัด
เตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
โกนขน ผม : วางมีด 45 องศา , โกนตามแนวขน , ลากยาว 6- 8 นิ้ว
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป
ในคืนก่อนวันผ่าตัด
ของมีค่าต่างๆ ถอดเก็บไว้ให้ญาติดูแลรักษา
สื่อไฟฟ้าต่างๆ ถอดออก
ให้ผู้ปุวยทำความสะอาดปาก ฟัน มีฟันปลอมให้ถอดออก
ไม่ให้แต่งหน้า ทาปาก ทาเล็บ
ในเช้าวันที่จะผ่าตัด
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดร่างกาย
สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย ความกลัวการผ่าตัด
สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
การให้ยยาผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ให้ยานอนหลับก่อนผ่าตัด 45 - 60 นาที
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆที่พิเศษ
แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ
ต้องบันทึกให้ครบ
อธิบายและให้ผู้ป่วยเซ็นใบยินยิมให้แพทย์ทำการผ่าตัด
ถ้าผู้ป่วยยังไม่บรรลุนิติภาวะ ให้ผู้มีอำนาจเซ็นยินยอมแทน
ถ้าผ่าตัดฉุกเฉิน ให้ญาติหรือครอบครัวเซ็ยแทน
ถ้าญาติไม่มา ผู้ป่วยเซ็นไม่ได้ ให้ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเซ็น
การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
การดูแลครอบครัวผู้ป่วย
การเตรียมผ่าตัดฉุกเฉิน
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนการขับถ่าย
ประวัติการเสียเลือด สารน้ำทางปัสสาวะ
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
การทำงานของไต
แบบแผนการรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ประเมินความรู้ความเข้าใจ
การยอมรับในการผ่าตัดที่เกิดขึ้น
การปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริม ฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของตนเอง
แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
ประวัติการได้รับและสูญเสียสารน้ำและเกลือแร่
ปริมาณแคลอรี่ของอาหารที่ได้รับในแต่ละวัน
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนผ่าตัด
การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายใจให้โล่ง
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วนตนเอง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
เปลี่ยนท่านอนหรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
รายที่ไม่รู้สึก ให้พลิกตัวทุก 1 - 2 ชั่วโมง
รายที่รู้สึกตัวดี ให้นอนท่าศีรษะสูง
ควรให้ลุกนั่งหรือเดินภายใน 24 ชั่วโมง
สังเกตการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
สังเกตการหายใจของผู้ป่วย
ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์ และให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
การจัดท่านอน
นอนตะแครงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง
ผู้ป่วยที่ได้รับยาชาทางไขสันหลังให้นอนราบอย่างน้อย 6 - 12 ชั่วโมง
นอนราบ ไม่หนุนหมอน
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
การพยาบาลเพื่อส่งเสรมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
ตรวจวัดชีพจร
ทุก 15 นาที 4 ครั้ง
ทุก 30 นาที 4 ครั้ง
ทุก 1ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่่ำเสมอ
สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ ที่ออกจากร่างกาย
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ เลือด หรือพลาสมาทดแทนทางหลอดเลือดดำ
ควรให้ผู้ป่วยนอนพักนิ่งๆ ในบริเวณที่มีเลือดออกมากๆ
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจ
ดูแลให้ผู้ปุวยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากแผลผ่าตัด
ใช้ Pain scale
แนะนำให้ทำกิจกรรมที่เบี่ยงเบนความสนใจและกิจกรรมที่เป็น
การกระตุ้นให้มีการหลั่งเอนโดรฟินเพื่อลดความรู้สึกเจ็บปวด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ปุวย
กระตุ้นให้ผู้ปุวยลุกออกจากเตียง หรือจัดท่านอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ
สังเกตและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลง
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับความสะอาดของร่างกายทั่วไป
ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการหายของแผล
สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ โดยเฉพาะแผลมีการติดเชื้อ
ทำความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลแผล
การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านสำหรับผู้ปุวยหลังผ่าตัด
เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ และอาการแสดงของการติดเชื้อ
การเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมต่างๆ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การมาตรวจตามแพทย์นัด
การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy)
กระดูกผุ เปราะบาง (Osteoporosis)
อาการปวดหลัง (Back pain)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา
เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ (Thrombus) เ
ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension)
หัวใจทำงานมากขึ้น
ระบบทางเดินหายใจ
ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion)
มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
ีผลต่อการรับประทานอาหาร
มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติในระยะแรกๆ (Diuresis)
มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis)
เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Renal Calculi)
ระบบเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญอาหาร
การเผาผลาญอาหารลดลง
มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง (Hypoproteinemia)
มีความผิดปกติด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์ (Self concept and Body image
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ปุวยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Activeassistive exercise
การออกกำลังกายโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย (Passive exercise)
การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
การออกกำลังกายให้ผู้ปุวยออกแรงต้านกับแรงอื่น (Resistive exercise)
การออกกำลังกายชนิดให้ผู้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise)
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
การวางแผนการพยาบาล
ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุของความวิตกกังวล
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
ปิดโอกาสให้ผู้ปุวยระบายความรู้สึก และค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการรบกวนผู้ปุวยและให้ผู้ป่วยได้พัก
ประเมินระดับความวิตกกังวล
รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
การประเมินสภาพผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ควรจัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบอยู่ในท่าที่สบาย
หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย
ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
ยืนแยกเท้าทั้งข้างห่างกันพอสมควร
หลังตรง ป้องกันการปวดหลัง
ย่อเข่าและสะโพก
หาวิธีที่เหมาะสม
ผู้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเ
ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้าย
ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพรียง
ใช้อุปกรณ์ที่ช่วยผ่อนแรงมาใช้เมื่อจำเป็น
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
ท่าที่เป็นข้อห้ามของผู้ป่วย
ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผู้ป่วย
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือถ้าทำได้
นำอุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นเอาออกจากเตียง
พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคง
พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกายเพื่อเตรียมผู้ป่วยเดิน
เหยียดข้อเข่า เหยียดขาพร้อมกับกดข้อเข่าลงกับที่นอน
งอข้อเท้า หมุนข้อเท้าเข้าหาตัวและออกจากตัว
กางและหุบข้อตะโพก
งอและเหยียดนิ้วเท้า
หมุนข้อตะโพก เหยียดขาทั้งสองข้าง
เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตะโพกต้นขา
ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การช่วยเหลือผู้ปุวยหัดเดินโดยพยาบาล 1 คน
กรณีใช้เข็มขัดหรือผ้าคาดเอว
กรณีไม่ใช้เข็มขัด ให้ใช้มือด้านใกล้ตัวจับที่ต้นแขนของผู้ป่วย
การช่วยเหลือผู้ปุวยหัดเดินโดยพยาบาล 2 คน
ให้พยาบาลยืนข้างผู้ป่วยคนละด้าน
มือพยาบาลข้างใกล้ตัวผู้ปุวยสอดใต้รักแร้ผู้ป่วย
อีกข้างหนึ่งจับปลายแขนหรือมือผู้ปุวยข้างเดิม
ผู้ป่วยและพยาบาลทั้ง 2 คนเดินพร้อมกัน
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผู้ป่วย
ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะเปลี่ยนท่า
ความสามารถของผู้ปุวยในการช่วยเหลือตนเอง
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ปุวยบนเตียง
การเตรียมผู้ป่วย ให้เอาหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก
การเตรียมตัวพยาบาล พยาบาลควรยืนในท่าที่ถูกต้อง พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
การจัดท่าผู้ป่วย
ท่านั่งบนเตียง (Fowler’s position)
ท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position)
ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ (Semiprone position)
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง (Lithotomy position)
ท่านอนคว่ำ (Prone position)
ท่านอนคว่ำคุกเข่า (Knee-chest position)
ท่านอนตะแคง (Lateral or Slide-lying position) เป็นท่าที่สบายสำหรับผู้ป่วยที่เคลื่อนไหวตนเองไม่ได้
ท่านอนศีรษะต่ำปลายเท้าสูง (Trendelenburg position)
ท่านอนหงาย (Dorsal or Supine position)
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
Parallel bar ราวคู่ขนาน
Walker หรือ Pick – up frames
Cane
Crutches ไม้ยันรักแร้ ไม้ค้ำยัน
ประโยชน์ของอุปกรณ์ช่วยเดิน
เมื่อมีข้อห้ามในการรับน้ำหนักเต็มทั้งขา (Partial weight bearing) ข้างนั้น
เมื่อมีข้อห้ามหรือมีการอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้ำหนักได้ (Non – weight bearing)
เพิ่มการพยุงตัว (Support) เพื่อให้สามารถทรงตัวได้ (Balance)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การฝึกความแข็งแรง (Strength) ความทนทาน (Endurance)
และการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ (Co – ordination)
การฝึกในท่าตั้งตรง (Upright) บนเตียงหรือเบาะ
การฝึกในราวคู่ขนาน
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน (Weight Bearing Status) ผู้ป่วยจะต้องลงน้ำหนักตามแผนการรักษา
รูปแบบการเดิน (Gait pattern)
Four – point gait
Two – point gait
Three – point gait
Swing – to gait
Swing – through gait
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
ไม้ค้ำยันรักแร้(Auxiliary crutches)
Lofstrand crutch
Platform crutch
ไม้เท้า (Cane)
ไม้เท้า 3 ขา (Tripod cane)
Walker