Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยก่อน-หลังการผ่าตัดการเคลื่อนไหวและออกกำลังกาย - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยก่อน-หลังการผ่าตัดการเคลื่อนไหวและออกกำลังกาย
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
เป็นการประเมินความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
2.การตรวจร่างกาย
2.2 การชั่งน้ำหนักตัว วัดส่วนสูง
2.3 การตรวงจประเมินทางระบบหายใจ
2.1 สัญญาณชีพ
2.4 การตรวจร่างกายตามระบบ โดยเน้นส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
3.การส่งตรวจทางห้องปฏืบัติการ
-Electrolytes ตรวจหาโรคไตวายเรื้อรัง
-BUN/Creatinine ตรวจหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
-Urinalysis ตรวจหารโรคไต และการอักเสบในทางเดินปัสสาวะ
-Blood sugar ตรวจหาโรคเบาหวาน
-complete blood count ตรวจหาโรคไตโรคมะเร็ง
-Liver function tests โรคตับ ถุงน้ำดี
-Coagulogram โรคตับ ดูการแข็งตัวของเลือด
-Chest X-ray โรคหัวใจ โรคปอด โรคมะเร็ง
-ECG ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
1.การซักประวัติ สอบถามข้อมูลจากผู้ป่วยหรือญาติ
1.3 ปรวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
1.4 การใช้ยา สารเสพติด การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
1.2 ประวัติการผ่าตัด รวมถึงอาการ ความรุนแรง ภาวะแทรกซ้อน และประวัติการรักษาของผู้ป่วย
1.5 ประวัติของคนในครอบครัวที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคประจำตัวหรือการแพ้ยาต่างๆ
1.1 ประวัติโรคประจำตัว สอบถามจากผู้ป่วยและญาติ แฟ้มประวัติผู้ป่วย ใบส่งตัว หรือใบบันทึกต่างๆ
1.6 ประวัติเกี่ยวกับโรคระบบต่างๆของร่างกาย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคลมชัก
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วย
1.ด้านร่างกาย
1.4 ประเมินความสมบูรณ์ของร่างกายในการได้รับอาหารที่เหมาะสม
1.5ภาวะสารน้ำและอิเล็คโทรลัยต์ในร่างกาย ว่าสมดุลไหม
1.3 ระบบทางเดินปัสสาวะ
1.6 การพักผ่อนนอนหลับต้องได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ
1.2 ระบบทางเดินหายใจ หายใจปกติรึเปล่า ปอดทำงานได้ดีไหม
1.7 ให้คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดความวิตกกังวล
1.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด
2.ด้านจิตใจ
ประเมินความวิตกกังวล ช่วยลดความวิตกกังวล ทำความเข้าใจ และแก้ไขเกี่ยวกับความเชื่อผิดๆ
3.การให้คำแนะนำการปฏิบัติหลังผ่าตัด เพื่อช่วยป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
4.Range of Motion (ROM) เป็นการออกกำลังข้อมือโดยมีการเคลื่อนไหวในทุกทิศทางปกติของข้อต่างๆ
5.Deep-breathing exercises ท่านอนหงายศรีษะสูง วางมือสองข้างบนหน้าอกส่วนล่างหายใจเข้าออกลึกเพื่อทำให้ปอดมีการขยาย
6.Effective cough นั่งเอนไปข้างหน้าประสานมือ2ข้างและกดเบาๆ เหนือบริเวณที่คิดว่ามีแผลผ่าตัด เมื่อเวลาไอจะทำให้ลดการเจ็บแผลขณะที่ไอ
7.Abdominal breathing ถ้าเจ็บแผลผ่าตัดบริเวณอกให้หายใจเข้าออกทางหน้าท้องแทรทรวงอก ทำ 8-10 ครั้ง ทุก 2 ชั่วโมง
3.Straight Leg Raising Exercise (SLRE) ออกกำลังกายขา ข้อสะโพกและกล้ามเนื้อต้นขาแบบยกขาขึ้นตรงๆ
8.Turning and ambulation ควรทำทุก 2 ช.ม. พลิกตัวซ้ายขวาเพื่อให้ร่างกายได้ขยับ
2.Quadriceps Setting Exercise (QSE) ออกกำลังกายกล้ามเนื้อต้นขาให้ผู้ป่วยนั่งและเกร็งขา 5 วินาที
9.Extremity exercise นอนในท่าหัวสูงหรือท่าที่สะบายแล้วก้ออกกำลังแขนหรือขาทีละข้าง
1.Early ambulation คือลุกจากเตียงหลังการผ่าตัดมาได้สักระยะหนึ่งเพื่อให้ร่างกายได้ปรับตัวหายเร็วมากยิ่งขึ้น
10.Pain management การระงับความเจ็บปวดหลังผ่าตัด
4.การเตรียมผู้ป่วยก่อนวันที่ผ่าตัด
2.การขับถ่าย ผ่าตัดเล็ก อาจให้สวนอุจจาระก็ได้หรือรับประทานยาระบายก่อนวันผ่าตัด ถ้าผ่าตัดใหญ่ให้ใส่สวนอุจจาระและสายสวนปัสสาวะ
3.การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด
7.ไต เตรียมด้านหน้าจากบริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ุและต้นขา
8.บริเวฯอวัยวะสืบพันธ์ุแลัทวารหนัก เช่น ทวารหนัก ช่องคลอด เตรียมตั้งแต่ระดับสะดือ ลงมาถึงฝีเย็บ และด้านในต้นขาและก้น
6.บริเวณท้องต่ำกว่าสะดือ เช่น ไส้ติ่ง ไส้เลื่อน เตรียมบริเวณตั้งแต่ระดับราวนมลงมาถึงต้นขา รวมทั้งบริเวณฝีเย็บ
9.แขน ข้อศอก และมือ เตรียมบริเวณแขนข้างที่จะทำการผ่าตัดด้านหน้าและหลัง จากไหล่จนถึงปลายนิ้วมือ
5.บริเวณช่องท้อง เช่น ผ่าตัดท่อน้ำดี ถุงน้ำดี เตรียมตั้งแต่ระดับรักแร้ลงมาถึงฝีเย็บ
10.ตะโพกและต้นขา เตรียมบริเวณเอวลงมาถึงระดับต่ำกว่าหัวเข่าที่จะทำ 6 นิ้ว ทั้งด้านหน้าและหลังและอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก
4.บริเวณทรวงอก เช่น ผ่าตัดเต้านม เตรียมด้านหน้าจากคอตอนบนจนถึงระดับสะดือ
11.การทำ skin graft ทำความสะอาดบริเวณ Donor site และ Recipient site ใหเกว้าง
บริเวรคอ เช่น ผ่าตัดต่อมไทรอยด์ เตรียมบริเวณจากใต้คางลงมาถึงราวหัวนม และไหล่ขวาถึงซ้าย
12.หัวเข่า เตรียมจากขาหนีบถึงข้อเท้าที่ทำการผ้าตัดโดยรอบ
2.บริเวณหูและกระดูกมาสตอยด์ เตรียมบริเวณกว้างเป็นวงรอบออกไป จากหู 1-2 นิ้ว โกนขนอ่อนที่ใบหู
13.ปลายขา เตรียมเหนือหัวเข่า ประมาร 8 นิ้ว ลงมาถึงข้อเท้าข้างที่จะผ่า ตัดเล็บให้สั้นทำคงามสะอาดเล็บ
1.บริเวณศีรษะ โกนผม เช็ดใบหู เตรียมบริเวฯลงมาถึงไหปลาร้าหน้าหลังไม่ต้องเตรียมใบหน้า
14.เท้า เตรียมใต้หัวเข่าลงไปถึงเท้าข้างที่จำะทำการผ่าตัด เล็บเท้าสั้นทำความสะอากเล็บ
1.อาหารและน้ำดื่ม งดอาหารและน้ำอย่างน้อย 8 ชั่วโมง อาหารเหลวใสให้ได้ 6 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
การเตรียมผิวหนัง
3.ปูผ้ายางกันเปื้อน
4.ถ้าบริเวณที่เตรียมสกปรกมากให้ฟอกสบู่ ล้างให้สะอาด
2.บอกให้ผู้ป่วยทราบ ปิดม่าน ดุแสงสว่าง
5.โกนขน หรือผม วางใบมีด 45 องศา กับผิวหนัง และโกนตามแนวขน
1.เตรียมเครื่องใช้ ประกอบด้วย ถาดสี่เหลี่ยม 1 ใบ มีดโกน 1 อัน กรรำกร ผ้าก๊อส 2-3 ชิ้น กระดาษรองขน ผ้ายางรองขกันเปื้อน สบู่ น้ำอุ่น 1 ใบ ชสมรูปไต
6.โกนเสร็จใช้สบู่ล้างให้สะอาด
7.เก็บผมหรือขน ใบมีดที่ใช้แล้วห่อกระดาษให้เรียบร้อย เก็บเครื่องมืให้เข้าที่
การดูแลสภาพร่างกายทั่วไป จะมีการเตรียมดังนี้
1.คืนก่อนผ่าตัด
-ของปลอมของมีค่า ถอดไว้ให้ญาติดูแลรักษา
-สื่อไฟฟ้า เช่น กิ๊บที่ทำจากโลหะให้ถอดออก
-ทำความสะอาดปาก ฟัน
-ไม่ให้ผู้ป่วยแต่งหน้า เพราะจะต้องสังเกตุสักษณะอาการเขียวคล้ำ
2.ในเช้าที่จะผ่าตัด
-สังเกตภาวะทางอารมณ์ของผู้ป่วย
-สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
-ทำคว่มสะอาดร่างกาย เปลี่ยนชุดเพื่อผ่าตัด
การเตรียม
แผ่นบันทึกรายงานต่างๆ ต้องบันทึกให้ครบและรวบรวมให้เรียบร้อย
การส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
การดูแลครอบครัวผุ้ป่วย
การให้ยาผู้ป่วยก่อนผ่าตัด แพทย์มักจะให้ยาในคืนวันก่อนผ่าตัดเพื่อช่วยผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลและนอนหลับพักผ่อนได้ดี
การเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยฉุกเฉิน
การเตรียมผ่าตัดผุ้ป่วยฉุกเฉิน
4.ให้ผู้ป่วยหรือญาติที่มีสิทธิทางกฎหมายเซ็นยินยอมผ่าตัด
5.ถ้าผู้ป่วยไม่มีญาติมาด้สย พยาบาลต้องถามหรือหาที่อยู่ครอบครัว
3.ทำความสะอาดและเตรียมผิวหนังบริเวรที่ผ่าตัด
6.วัดและบันทึกอาการ
2.ให้ผุ้ป่วยถ่ายปัสสาวะให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
7.สังเกตสภาพร่างกายทั่วไป
1.เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจ CBC และ Blood group ทันที ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
แบบแผนกิจกรรมการออกกำลังกาย
1.ประวัติโรคหัวใจ โรคปอด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีก่อนการผ่าตัด
2.การเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
แบบแผนอาหารและกาเผาผลาญ ประเมิน ประวัติการได้รับและสูญเสียน้ำและเกลือแร่ ก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด
แบบแผนการขับถ่าย
-ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการขับถ่ายปัจจุบัน
-การทำงานของไต
-ประวัติการเสียเลือด สารน้ำทางปัสสาวะ การขับถ่ายปกติก่อนหลังผ่าตัด
แบบแผนการรับรุ้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
กิจกรรมพยาบาลหลังการผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อหายใจโล่ง
4.เปลี่ยนท่านอนพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ แะให้ลุกเดินภายใน 24 ชั่วโมง
5.กรพตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองเพื่อเพิ่มดิจกรรมการเคลื่อนไหวขณะอยู่บนเตียง
3.กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ และไออย่างมีประสิทธิภาพ
6.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
2.สังเกตการหายใจของผุ้ป่วย ดุแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดดยการดูดเสมหะ
7.สังเกตอาการบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนทางเดินหายใจ
1.การจัดท่านอน ให้นอนราบและหนุนหมอน ตะแคงด้านใดด้านหนึ่ง
8.ถ้าผู้ป่วยมีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการทำงานของระบบหัวใจและไหลเวียน
4.ควรให้ผู้ป่วยนอนพักนิ่งๆ
5.เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นให้พร้อมในรายที่มีภาวะช็อก
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำ เลือด หรือพลาสมาทดแทนทางหลอดเลือดดำ
6.สังเกต บันทึก และติดตามผลการตรวจคลื่นหัวใจโดยเฉพาะในรายการที่มีการเต้นผิดปกติของหัวใจ
2.สังเกตลักษณะบาดแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนทั้งร่างกาย และจิตใจ สิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบ
1.ตรวจสัญญาณชีพทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากบาดแผลดดยใช้ Pain scale ดุและให้การรับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
2.ดูแลให้ได้รับสารอาหารและพังงานอย่างเพียงพอ
3.สังเกตและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ถึงการย่อยและดูดซึมอาหารที่ผิดปกติ
1.กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกออกจากเตียง หรือจัดท่านอนสีรษะสูงเพื่อลดอาการแน่นท้อง ท้องอืด
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมความสุขสบายและความปลอดภัยของผู้ป่วย
2.การดูแลสุขอนมัยส่วนบุคคลเกี่ยวกับความสะอาดทาง่างกาย เช่น ช่องปาก อวัยวะสืบพันธ์ุ และระบบขับถ่าย
3.ดูแลความปลอดภัยในรายที่ยังไม่ฟื้นจากยาสลบ
1.การดูแลความสุขสบสบายทั่วไป เช่นการนอนหลับ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
2.สังเกตลักษณะแผลที่ผิดปกติ
3.ทำความสะอาดแผลด้วยหลักปราศจากเชื้อ
1.สังเกตและประเมินปัจจัยเสี่ยงในการหายของแผล
4.สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลแผล
การให้คำแนะนำก่อนกับบ้านสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
3.การส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
4.การดูแลความสะอาดของร่างกาย
2.การเคลื่อนไหวการทำกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นข้อจำกัดหลังการผ่าตัด
5.การมาตรวจคามแพทย์นัด
1.เรื่องการดูแลแผล การสังเกตอาการ และการแสดงอาการติดเชื้อ
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
การช่วยเหลือผู้ป่วยเคลื่อนไหวบนเตียง
การประเมินผุ้ป่วย พยาบาลควรทราบข้อมูลดังนี้
ท่าที่เหมาะสม และระยะเวลาที่ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าที่เปลี่ยนให้ใหม่
ความยากลำบากและไม่สุขสบายในขณะที่เปลี่ยนท่าหรืออยู่ในท่าที่จัดให้
ความสามารถของผู้ป่วยในการช่วยเหลือตนเอง
ปัญหาอื่นๆ ที่พบในผู้ป่วย เช่น ความผิดปกติที่เกี่ยวกับผิวหนัง กระดูก หลอดเลือด
ปฏิบัติการพยาบาลในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยบนเตียง
2.การเตรียมตัวพยาบาล ควรยืนในท่าที่ถูกต้อง
3.การจัดท่าผู้ป่วย มีรายละเอีดดังนี้
3.ท่านอนคว่ำ (Prone position)
4.ท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ (Semiprone position)
2.ท่านอนตะแคง (Lateral or Slide-lying position)
5.ท่านั่งบนเตียง (Fowler' position)
1.ท่านอนหงาย (Dorsal or Supine position)
6.ท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position)
7.ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง (Lithotomy position)
8.ท่านอนคว่ำคุกเข่า (Knee-chest position)
9.ท่านอนศีรษะปลายเท้าสูง (Trendelenburg)
1.การเตรียมผุ้ป่วย ให้เอาหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
6.ย่อเข่าและสะโพก
7.หาวิธีที่เหมาะสมเพื่อผ่อนแรงในการยกหรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
5.หลังตรงป้องกันการปวดหลัง
8.ผุ้ป่วยควรอยู่ใกล้พยาบาลมากที่สุด
4.ยืนแยกเท้าห่างพอสมควร
9.ยกตัวผู้ป่วยให้พ้นจากที่นอนเล็กน้อยเพื่อลดแรงเสียดทาน
3.ควรยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
10.ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแทการเลื่อนผู้ป่วย
หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่เคลื่อนย้าย
11.ให้สัญญาณเพื่อความพร้อมเพียง
1.จัดให้นอนในท่าที่นอนหงายสบาย
12.ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ควรหาผู้ช่วยเหลือ 2 คนขึ้นไป
การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย
4.ความมั่นคงในการคงท่าของผู้ป่วย
5.ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่งๆ
3.ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ
6.ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากน้อยแค่ไหน
2.ท่าที่เป็นข้อห้ามของผู้ป่วย
7.ความต้องการการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่าและความสุขสบายของผุ้ป่วย
1.ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
2.นำหมอนหนุนศีรษะของผู้ป่วยออก วางหมอนที่พนักหัวเตียง อุปกรณที่ไม่จำเป็นเอาออกจากเตียง
3.พยาบาลยืนในท่าที่ถูกต้องมั่นคง
1.แจ้งให้ผู้ป่วยทราบและบอกวิธีการให้ความร่วมมือภ้าทำได้
4.พยุงผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลและมั่นคง
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดิน
การออกกำลังกาบเพื่อเตรียมผู้ป่วย
4.เหยียดข้อเข่าอเหยียดขาพร้อมกับกดข้อเข่าลงกับที่นอน
5.งอข้อเท้า หมุนข้อเท้าเข้าหาตัวเองและออกจากตัว
3.กางและหุบข้อตะโพก
6.งอและเหยียดนิ้วเท้า
2.หมุนข้อตะโพก เหยียดขา หมุนเข้าหาตัวและหมุนออกจากตัว
7.เกร็งกล้ามเนื้อท้อง ตะโพก ต้นขา โดยเกรงกล้ามเนื้อหน้าท้องและคาย
1.ให้ผู้ป่วยงอและเหยียดข้อตะโพก โดยให้นอนบนเตียง เหยียดขาออกและยกขึ้นแล้วงอเข่าและยกเข่าเข้าหาอกพร้อมงอเท้าให้นิ้วเท้าโค้งหาปลายขา
การช่วยเหลือผู้ป่วยหัดเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน
ชนิดของอุปกรณ์ช่วยเดิน
2.Walker หรือ Pick-up frames เป็นอลูมิเนียม หรือสแตนเลส เหมาะสำหรับผุ้ป่วยที่มีอายุและการทรงตัวไม่ดีนัก
3.Cane มีหลายชนิด เป็นการเดินด้วยไม้เท้าอันเดียว ผุ้ป่วยต้องมั่นคงในการเดิน มักใช้กับผู้สูงอายุ
1.Parallel bar = ราวคู่ขนาน ราวเดิน เป็นเครื่องช่วยเดินที่มั่นคง
4.Crutches
ประโยชน์ของอุปกรณ์การช่วยเดิน
2.ช่วยแบ่งเบาหรือรัยน้ำหนักแทนขา เมื่อมีข้อห้ามหรือมีการอ่อนแรงจนขาไม่สามารถรับน้ำหนักได้
3.เพิ่มการพยุงตัว เพื่อให้ทรงตัวได้
1.ช่วยแบ่งเบาหรือรับน้ำหนักแทนขา เมื่อมีข้อห้ามในการรับน้ำหนักเต็มทั้งขา
การเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้าฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
2.การฝึกในท่าตั้งตรงบนเตียงหรือเบาะ
3.การฝึกในราวคู่ขนาน
1.การฝึกความแข็งแรง ความทนทาน
การลงน้ำหนักที่ขาเวลาเดิน
รูปแบบการเดิน
Three-point gait เป็นรูปแบบการเดินที่ใช้บ่อบในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
swing-to gait วิธีนี้เหมาะที่สุดสำหรับผู้ป่วยที่มีการจำกัดในการใช้ขาทั้ง 2 ข้าง ร่วมกับมีความมั่นคงของลำตัว
Two-point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มีความก้าวหน้าขึ้น
Swing-through gait เป็นรูปแบบการเดินที่ก้าวหน้ามาจาก swing -to gaint วิธีนี้เดินได้เร็วขึ้น
1.Four-point gait เป็นรูปแบบการเดินที่มั่นคงที่สุด
วิธีการฝึกผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
1.ไม้ค้ำยันรักแร้ เป็นอุปกรณ์ช่วยเดิน ช่วยพยุงตัวได้ดี
2.การสอนเดิน การเดินดดยใช้ไม้ค้ำยันรักแร้
รูปแบบการเดิน เดินบนพื้นราบ เดินขึ้น-ลงบรรนได
การออกกำลังกายแลพการเคลื่อนไหวร่างกาย
การออกกำลังกาย
3.การออกกำลังกายชนิดที่ให้ผู้ป่วยทำร่วมกับความช่วยเหลือของผู้อื่น (Active assistive exercise)
4.การออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อน (Isometric or Static exercise)
2.การออกกำลังโดยให้ผู้อื่นทำให้ผู้ป่วย(Passive exercise)เคลื่อนไหวข้อต่างๆ
5.การออกกำลังกายให้ผู้ป่วยออกแรงต้านกับแรงอื่น(Resistive exercise)
1.การออกกำลังกายชนิดให้ผุ้ป่วยทำเอง (Active or Isotonic Exercise) เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง
การเคลื่อนไหวร่างกาย
2.ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือมีความพิการของกระดูก และกล้ามเนื้อ
3.ลดการเมื่อยล้า หรือการใช้พลังงานมากเกินไป
1.ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ผลกระทบจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ระบบผิวหนัง ผิวเสียหน้าที่ทำให้เกิดแผลกดทับ (Bed sore or Pressure sore or Decubitus ulcer)
2.เซลล์ตายและลุกลามกลายเป็นแผล
3.การเสียดทาน (Friction) เมื่อผุ้ป่วยถูกลากหรือเลื่อนตัว
1.เกิดแรงกดทับ (Pressure)
4.แรงดึงรั้ง (Shearing force) เกิดจากแรงกดทับและการเสียดทานที่เกิดขึ้นพร้อมกัน
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การประสานงานของกล้ามเนื้อแขนขาลดลงหรือไม่สัมพันธ์กัน ทำให้กล้ามเนื้อบางส่วนที่ช่วยในการเคลื่อนไหวร่างกายอ่อนแรง ความทนต่อกิจกรรมลดลง
กล้ามนื้ออ่อนแรง ลีบเล็ก (Muscle atrophy) กล้ามเนื้อไม่หดหรือเกร็งทำให้ขาดความตึงตัวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง
1.กระดุกผุ เปราะบาง (Oseoporosis) พบบ่อยที่กระดูกขา ตัวกระดูกสันหลัง และกระดูกเท้า
อาการปวดหลัง (Back pain) เกิดการนอนที่ไม่ถูกต้อง ศีรษะนอนหนุนหมอนสูงเกินไป ที่นอนนิ่มเกินไป ทำให้ปวดหลังได้
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
2.มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำที่ขา เนื่องจากกล้ามเนื้อคลายตัวหรืออ่อนแรงทำให้เกิดเลือดคั่งในหลอดเลือดที่ขา
3.เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ (Thrombus)เนื่องจากมีการคั่งของหลอดเลือดดำและการสลายตัวของกระดูกทำให้มีแคลเซียมในกระแสเลือดเพิ่มมากขึ้น
1.หัวใจทำงานมากขึ้น การอยู่ในท่านอนทำให้ปริมาณเลือดกลับเข้าสู่หัวใจมากกว่าปกติ
4.ความดันต่ำขณะเปลี่ยนท่า (orthostatic Hypotension) พบในการเปลี่ยนท่าจากท่านอนเป็นท่ายืน จะมีการวิงเวียน เป็นลม หน้ามืด
ระบบทางเดินหายใจ
1.ปอดขยายตัวลดลง (Decrease lung expansion) เนื่องจากนอนหงายทำให้แรงกดด้านหน้า กดลงที่ทรวงอกและหน้าท้องขณะที่นอน
2.มีการคั่งของเสมหะมากขึ้น เนื่องจากการพัดโบกของ Cilia เพื่อพัดเสมหะจากทางเดินอาหารส่วนล่างสู่ส่วนบนลดลง
ระบบทางเดินอาหาร
2.มีผลต่อการขับถ่าย ทำให้ท้องผูก (Constipation) เนื่องจากการบีบตัวของลำไส้ลดลงจากการหลั่ง Adrenaline ลดลง
1.มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทำให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย กังวลใจจากการนอนเฉยๆ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
2.มีการคั่งของปัสสาวะในไตและกระเพาะปัสสาวะ (Urinary stasis) และกระเพาะปัสสาวะสูญเสียหน้าที่
3.เกิดนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ () เนื่องจากมีแคลเซียมในเือดสูงจากการสลายตัวของกระดูกร่วมกับการมีปัสสาวะคั่งและสภาพปัสสาวะที่เป็นด่าง
1.มีผลต่อการรับประทานอาหาร ทำให้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย กังวลใจจากการนอนเฉยๆ
ระบบเมตาบอริซึมและการเผาผลาญอาหาร
2.มีระดับโปรตีนในกระแสเลือดลดต่ำลง
3.มีความผิดปกติกด้านอัตมโนทัศน์และภาพลักษณ์
1.การเผาผลาญอาหารลดลง เนื่องจากความต้องการใช้พลังงานน้อยไม่มีการเคลื่อไหว เป็นสาเหตุให้มีการเปลี่ยนแปลงของภาวะโภชนาการจากการได้รับสารอาหารน้อยกว่าหรือมากกว่าที่ร่างกายต้องการ
กระบงนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
2.1 วิตกกังวลเนื่องจากกัวการผ่าตัด
2.2 วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
3.การวางแผนการพยาบาล ให้การพยาบาล และประเมินผลหลังให้การพยาบาล
3.3 ร่วมกันหาทางแก้ไขสาเหตุขแงความวิตกกังวลร่วมกับผู้ป่วยและญาติ
3.4 ดูแลความสุขสบายทั่วไป
3.2 เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายคววามรู้สึก และค้นหาสาเหตุความวิตกกังวล
3.5จัดหมวดหมู่กิจกรรมการพยาบาลเพื่อลดการลบกวนผู้ป่วยและให้ผู้ป่วยได้พัก
3.1 ประเมินระดับความวิตกกังวล
3.6 รายงานแพทย์เมื่อพบอาการผิดปกติ
1.การประเมินสภาพผู้ป่วย รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การวางแผนการพยาบาล เช่น การปรับตัวและการทรทานต่อความเครียด